Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Social and Behavioral Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

2022

Discipline
Institution
Keyword
Publication
Publication Type
File Type

Articles 22141 - 22170 of 22949

Full-Text Articles in Social and Behavioral Sciences

Factors Influencing People’S Behavioral Motivation To Travel For Sport Tourism In Thailand, Lingjuan Liu Jan 2022

Factors Influencing People’S Behavioral Motivation To Travel For Sport Tourism In Thailand, Lingjuan Liu

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Sport tourism is a combination of sport and tourism that has gained increasing attention among multiple parties, government, academics, and market participants. Sport tourism has showed a positive business outlook that can support Thai tourism sector’s sustainable development. However, current research is more focused on the concept of sport tourism, less emphasized on sport tourist’s motivation. This study used quantitative method with the tool of ordered logit regression and descriptive analysis with figures and tables to investigate the factors that can influence people’s motivation to travel for sport tourism in Thailand. A questionnaire including questions related to social demographic, travel …


การนำนโยบายแก้ไขปัญความยากจนในมิติด้านรายได้ของศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติ: กรณีศึกษาอำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี, ศศิวิมล อ้นนา Jan 2022

การนำนโยบายแก้ไขปัญความยากจนในมิติด้านรายได้ของศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติ: กรณีศึกษาอำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี, ศศิวิมล อ้นนา

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนำนโยบายไปปฏิบัติ รวมทั้งปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการขับเคลื่อนศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี โดยการใช้รูปแแบบการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้เทคนิคการวิจัยเอกสาร การสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก โดยมีผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่ให้สัมภาษณ์ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในศจพ.อำเภอ และประชาชนครัวเรือนเป้าหมายผู้ตกเกณฑ์ยากจน มิติด้านรายได้ รวม 12 คน ผลจากการศึกษาวิจัยพบว่า ศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอำเภอมีสมรรถนะหลักขององค์การทั้ง 5 ประการ ตามตัวแบบการจัดการ (Management Model) ซึ่งมีผลต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติทั้งในด้านผลสำเร็จ ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการ ได้แก่ 1) ด้านโครงสร้างองค์การ มีทีมพี่เลี้ยงที่ประกอบไปด้วย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน และผู้นำในชุมชน ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่และรายครัวเรือนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) ด้านสถานที่การดำเนินการมีความสะดวก เอื้อต่อการทำกิจกรรมของเจ้าหน้าที่และครัวเรือนเป้าหมาย 3) ด้านบุคลากรบางส่วนมีความรู้ ความเข้าใจ และความพร้อมในการปฏิบัติงาน แต่การบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องยังไม่เพียงพอต่อการขับเคลื่อนศจพ.อำเภอในภาพรวม 4) ด้านอุปกรณ์และเครื่องมือ มีระบบ TPMAP ที่ยังมีข้อบกพร่องในเกณฑ์ตัวชี้วัดบางรายการ และอุปกรณ์ในการส่งเสริมการประกอบอาชีพยังไม่ตรงต่อปัญหาและความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง และ 5) ด้านงบประมาณ ศจพ.อำเภอไม่มีงบประมาณที่ได้รับจัดสรรให้โดยตรง จึงต้องอาศัยความร่วมมือหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ในศจพ.อำเภอวางแผนการดำเนินการร่วมกันเพื่อขอรับงบประมาณจากหน่วยงานต้นสังกัด โดยในประเด็นความร่วมมือจากปัจจัยด้านบุคลากรและงบประมาณ ศจพ.อำเภอ ควรดำเนินการกำหนดแผนการดำเนินงานและการกำกับติดตามคณะทำงานขับเคลื่อนศจพ.อำเภอ อย่างใกล้ชิด ภายใต้การนำของผู้อำนวยการศจพ.อำเภอ หรือหาหน่วยงานเจ้าภาพหลักเพื่อดำเนินการขับเคลื่อนโดยตรง และกรณีเครื่องมือการส่งเสริมการประกอบอาชีพยังไม่ตอบสนองปัญหาและความต้องการของครัวเรือน ศจพ.อำเภอควรมีการปรับบทบาทเป็นศูนย์รวมอาชีพเพื่อให้ประชาชนสามารถเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับปัญหาและความต้องการของตนเองได้


การศึกษาประสิทธิผลในการเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทยโดยสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน), ศิริณา กาญจนศิริรัตน์ Jan 2022

การศึกษาประสิทธิผลในการเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทยโดยสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน), ศิริณา กาญจนศิริรัตน์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลในการเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย และแนวทางและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของไทยให้เกิดประสิทธิผลมากขึ้น โดยงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ รวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมือสัมภาษณ์เชิงลึกด้วยคำถามแบบกึ่งมีโครงสร้างในการเก็บข้อมูล จากผู้บริหารสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย ผลการวิจัยพบว่า การเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทยโดยสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความรู้ โดยผู้ประกอบการได้รับความรู้จากการอบรมไปดำเนินในธุรกิจทำให้เกิดประสิทธิผลขึ้น ได้แก่ ด้านการผลิตรูปแบบใหม่ การตลาดที่ทันสมัย การสร้างประสบการณ์ที่ดีกับลูกค้า การร่วมมือกับพันธมิตรธุรกิจ การย้ายฐานการผลิต และการทำธุรกิจแบบโปร่งใสและรับผิดชอบต่อสังคม 2) ด้านทักษะ สถาบันฯ มีการอบรมผู้ประกอบการหรือแรงงานเพื่อฝึกทักษะเฉพาะด้าน เพื่อทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ และแรงบันดาลใจในการผลิตสินค้าในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับที่ทันสมัยและเป็นความต้องการของตลาดมากขึ้น และ 3) ด้านทัศนคติ คือผู้ประกอบการให้ความร่วมมือในการเข้าอบรม มีการปรับเปลี่ยน มีการศึกษาความรู้เพิ่มมากขึ้นเพื่อให้ธุรกิจของตนเองประสบความสำเร็จมากขึ้น และมีผลตอบแทนที่ดี โดยการดำเนินงานของสถาบันฯ ทำให้เกิดประสิทธิผลตามพันธกิจในการพัฒนาความสามารถของผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย อย่างไรก็ตามสถาบันฯ ยังจำเป็นต้องมีการกำหนดแนวทางการจัดหาวัตถุดิบจากประเทศต่าง ๆ สู่ประเทศไทยอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอเพื่อช่วยเหลือ แก้ไขความท้าทายข้อจำกัดที่ประเทศไทยไม่มีวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตอัญมณีและเครื่องประดับ และเพื่อประสิทธิผลในการเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทยยิ่งขึ้นไป สถาบันฯ ควรมีการพิจารณาจัดทำแผนแม่บทหรือแผนระยะยาวร่วมกันระหว่างภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมให้อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทยประสบความสำเร็จในการเตรียมบุคลากรของประเทศให้มีความพร้อมในการเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมการผลิตอัญมณีและเครื่องประดับในทุกระดับ ทั้งในด้านการบริหารจัดการ การออกแบบ วิศวกรรมการผลิต ทั้งในระดับอุดมศึกษา อาชีวศึกษา และแรงงานฝีมือในระดับต่าง ๆ


State Level Trends In Renewable Energy Procurement Via Solar Installation Versus Green Electricity, Eric Michael Hanson Jan 2022

State Level Trends In Renewable Energy Procurement Via Solar Installation Versus Green Electricity, Eric Michael Hanson

Masters Theses

“In the past 5 years, consumer options for procuring renewable energy have increased, ranging from rooftop solar installation to utility green pricing to Community Choice Aggregation. These options vary in terms of costs and benefits to the consumer as well as grid integration implications. However, little is known regarding how the presence of a wide range of options for utility-scale renewable procurement affects demand for distributed residential solar installations. In theory, there are three possible relationships, (1) positive correlation, where utility-scale and distributed resources complement each other to increase overall production, (2) negative correlation, where utility-scale and distributed resources are …


Industry 4.0 Remanufacturing: A Novel Approach Towards Smart Remanufacturing, Prashansa Ragampeta Jan 2022

Industry 4.0 Remanufacturing: A Novel Approach Towards Smart Remanufacturing, Prashansa Ragampeta

Masters Theses

“Smart remanufacturing has become more popular in recent years as a result of its multiple benefits and the growing need for society to encourage a circular economy that leads to sustainability. One of the most common end-of-life (EoL) choices that can lead to a circular economy is remanufacturing. As a result, at the end-of-life stage of a product, it is critical to prioritize this choice over other accessible options because it is the only recovery option that retains the same quality as a new product. This work focuses on the numerous technologies that can aid in the improvement of smart …


Wpa News 119 (2022), World Pheasant Association Jan 2022

Wpa News 119 (2022), World Pheasant Association

Galliformes Specialist Group and Affiliated Societies: Newsletters

WPA News (Winter 2022), number 119

Published by the World Pheasant Association


Oregon Statewide Homelessness Estimates 2021, Timothy Green, Marisa Zapata, Jacen Greene Jan 2022

Oregon Statewide Homelessness Estimates 2021, Timothy Green, Marisa Zapata, Jacen Greene

Homelessness Research & Action Collaborative Publications and Presentations

Executive Summary This report, prepared by Portland State University’s Homelessness Research and Action Collaborative (PSU-HRAC) at the request of Oregon Housing and Community Services, provides estimates of people experiencing sheltered and unsheltered homelessness in 2021 at the state, county, and Continuum of Care (CoC) levels. Trends and demographics are also analyzed at those levels to the extent possible given the limitations of available data.

In 2021, Oregon Continuums of Care (CoCs) in charge of administering Point-in-Time (PIT) counts of people experiencing literal homelessness1 faced the unprecedented challenge of doing so in the midst of a major global pandemic. Some CoCs …


Oregon's Safe Harbor For Tenants: Rocky Shoals In Eviction Diversion, Lisa K. Bates Jan 2022

Oregon's Safe Harbor For Tenants: Rocky Shoals In Eviction Diversion, Lisa K. Bates

Homelessness Research & Action Collaborative Publications and Presentations

In an effort to mitigate the impacts of the Covid-19 public health emergency, throughout 2020 and into 2021 novel public health emergency programs were initiated, including a variety of federal, state, and local ‘moratoriums’ on residential evictions for nonpayment of rent. As the moratoria began to sunset, additional ‘post-pandemic’ eviction diversion and tenant protection programs were created to buffer the ‘tsunami’ of evictions that were expected.

Oregon’s eviction diversion program, the so-called ‘safe harbor period’ for nonpayment eviction cases, was put into place in July 2021 to maintain some protections for tenants after the state moratorium on nonpayment evictions ended. …


Village Research & How-To Guide, Todd Ferry, Greg Townley, Marisa Zapata Jan 2022

Village Research & How-To Guide, Todd Ferry, Greg Townley, Marisa Zapata

Homelessness Research & Action Collaborative Publications and Presentations

The village model is an increasingly popular form of alternative shelter being explored by organizations, activists, and municipalities around the country. Portland’s Dignity Village is the country’s first and longest running village, serving as a touchstone for community dialogue in Oregon around the subject of supporting people experiencing homelessness since 2000. More recently, the region has seen the rapid increase in alternative shelters informed by or following the village model, sparked by a state of emergency declaration on housing and homelessness in Portland in 2015, and further accelerated by the COVID-19 pandemic. As the model continues to grow and morph …


Developing A Vr Training Model For Improving Transportation Safety Protocols For Rural Areas, Emmanuel Olumide Adeosun Jan 2022

Developing A Vr Training Model For Improving Transportation Safety Protocols For Rural Areas, Emmanuel Olumide Adeosun

Masters Theses

"This research evaluated the effectiveness of using simulated virtual reality driving environments to improve transportation safety in rural areas. The transportation accident fatality rate is more than double the national average in rural areas and highlights an important opportunity to address these challenges through improved safety protocols and investments. A review of the literature revealed high frequency scenarios that contributed the most to fatality or injury accidents. Virtual reality driving simulations were created based on these high frequency events using a specified rural roadway identified with the assistance of the Missouri Department of Transportation. Scenarios considered weather-related conditions, such as …


Aircraft Interior And Seat Design: Priorities Based On Passengers’ Opinions, Peter Vink, Gerbera Vledder, Yu Song, Britta Herbig, Anna Sophie Reichherzer, Neil Mansfield Jan 2022

Aircraft Interior And Seat Design: Priorities Based On Passengers’ Opinions, Peter Vink, Gerbera Vledder, Yu Song, Britta Herbig, Anna Sophie Reichherzer, Neil Mansfield

International Journal of Aviation, Aeronautics, and Aerospace

Comfort is an important factor for passengers in the selection of airlines, and electric propeller aircraft will be an important element of future sustainable aviation. In this paper, we studied the order of importance of different (dis)comfort factors regarding traveling with propeller aircraft. Two experiments were conducted, one was a simulation flight on the ground with 33 participants and the other were two real flights with 97 participants. All participants were asked to rank the importance of different (dis)comfort factors in different phases of flights. Results indicated that though there are differences between the simulation and the real flights, noise, …


Exporters In Africa: What Role For Trade Costs?, Helena Afonso, Sebastian Vergara Jan 2022

Exporters In Africa: What Role For Trade Costs?, Helena Afonso, Sebastian Vergara

Journal of African Trade

Abstract This paper investigates the role of trade costs for exporter dynamics in Africa. In comparison to exporters from other regions, African exporting firms are fewer, smaller, and relatively less diversified in terms of products and destinations. African countries also display the highest rates of entry, exit, and turnover of exporting firms, exporting products, and export destinations. This suggests that Africa’s exporting activity is volatile and subject to much experimentation, with exporters facing difficulties maintaining trade relationships. The analysis also confirms that trade costs are a crucial factor in explaining exporter performance in Africa vis-à-vis other regions, but also among …


Does Pesticide Regulation Impact The Export Competitiveness Of Major Global Cocoa Producers?, Olaide Akin-Olagunju, Abiodun Falusi, Sulaiman Yusuf, Victor Okoruwa Jan 2022

Does Pesticide Regulation Impact The Export Competitiveness Of Major Global Cocoa Producers?, Olaide Akin-Olagunju, Abiodun Falusi, Sulaiman Yusuf, Victor Okoruwa

Journal of African Trade

Abstract Several methods are used to evaluate competitiveness, but the non-inclusion of quality measures, despite their importance in international product markets, gives less credence to such assessments. This study evaluates export competitiveness in the cocoa sector from the context of pesticide regulations. Such regulations are now increasingly common, due to their perceived benefits for humans, animals, and the environment. The results of our study show that cocoa-exporting countries stand to derive more earnings if standards are harmonized at the Codex level. Adherence to international standards, as reflected in large standard-scaled trade values, enhances competitiveness: yet compliance capacity must be matched …


Economic Integration Agreements And Export Survival In Ghana, Kwabena Nkansah, Paul Owusu Takyi, Daniel Sakyi, Frank Adusah-Poku Jan 2022

Economic Integration Agreements And Export Survival In Ghana, Kwabena Nkansah, Paul Owusu Takyi, Daniel Sakyi, Frank Adusah-Poku

Journal of African Trade

Abstract This study examines the effect of regional integration—specifically, that of the Economic Community of West African States (ECOWAS) as an economic integration agreement—on the survival rate of Ghana’s exports. It employs a discrete-time complementary log–log hazard model with a random effects estimation technique and Kaplan–Meier estimates of the survival function, using data spanning from 1996–2018. The findings from the study indicate that ECOWAS has a significantly negative impact on the hazard rate of Ghana’s exports, implying that ECOWAS as an economic integration agreement increases the survival rate of Ghana’s exports for both aggregate exports and commodity-specific ones. Additionally, the …


Institutional Quality And Intra-Regional Trade Flows: Evidence From Ecowas, Sebil Olalekan Oshota, Bashir Adelowo Wahab Jan 2022

Institutional Quality And Intra-Regional Trade Flows: Evidence From Ecowas, Sebil Olalekan Oshota, Bashir Adelowo Wahab

Journal of African Trade

Abstract Since institutional quality can either create or destroy incentives for individuals to engage in trade, it has become a source of worry to policymakers, as it can limit both intra- and extra-regional trade. Based on this, we empirically analyzed the extent to which national institutional quality affects bilateral trade flows in ECOWAS based on a gravity model for the period from 2000 to 2018. Specifically, the study employs the negative binomial pseudo-maximum likelihood estimator (NBPML). The results reveal that institutional variables with both aggregated and disaggregated measures of the quality of institutions have a significant and positive impact on …


Reply To Komatsu Et Al.: From Local Social Mindfulness To Global Sustainability Efforts?, N. J. Van Doesum, R. O. Murphy, M. Gallucci, E. Aharonov-Majar, U. Athenstaedt, W. T. Au, L. Bai, R. Böhm, I. Bovina, N. R. Buchan, X. P. Chen, K. B. Dumont, J. B. Engelmann, K. Eriksson, Li, Norman P., S. Fiedler, J. Friesen, S. Gächter, C. Garcia, R. González Jan 2022

Reply To Komatsu Et Al.: From Local Social Mindfulness To Global Sustainability Efforts?, N. J. Van Doesum, R. O. Murphy, M. Gallucci, E. Aharonov-Majar, U. Athenstaedt, W. T. Au, L. Bai, R. Böhm, I. Bovina, N. R. Buchan, X. P. Chen, K. B. Dumont, J. B. Engelmann, K. Eriksson, Li, Norman P., S. Fiedler, J. Friesen, S. Gächter, C. Garcia, R. González

Research Collection School of Social Sciences

Komatsu et al. (1) argue that Van Doesum et al. (2) may have overlooked the role of GDP in reporting a positive association between social mindfulness (SoMi) and the Environmental Performance Index (EPI) at country level. Although the relationship between EPI and SoMi is relatively weaker for countries with higher GDP, that does not imply that the overall observed relationship is a statistical artifact. Rather, it implies that GDP may be a moderator of the relationship between EPI and SoMi. The observed correlation is a valid result on average across countries, and the actual effect size would, at least to …


Resolving Thai Zero Pronoun Using Masked Language Model, Sumana Sumanakul Jan 2022

Resolving Thai Zero Pronoun Using Masked Language Model, Sumana Sumanakul

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Zero pronoun resolution is an actively challenging NLP task in Thai. However, only a few previous studies have focused on this topic. Therefore, we explore a modern approach that could outperform existing state-of-the-art methods on various datasets and downstream tasks, the transformer-based, pre-trained language model, to apply to the Thai zero pronoun resolution task. We conduct two experiments on a small corpus, which are (1) using a pre-trained masked language model to predict zero pronominal expressions and (2) fine-tuning Wangchanberta on a token classification task to classify persons of pronouns. Based on our experiments, the results demonstrate the effectiveness of …


อิทธิพลของคุณลักษณะของผู้ส่งสาร การวางสินค้าในงานโฆษณา และเนื้อหาเพื่อสิ่งแวดล้อมบนแอปพลิเคชันติ๊กต็อก ที่มีผลต่อพฤติกรรมตอบสนองของผู้บริโภค, ฉัตริน อินทร์เมือง Jan 2022

อิทธิพลของคุณลักษณะของผู้ส่งสาร การวางสินค้าในงานโฆษณา และเนื้อหาเพื่อสิ่งแวดล้อมบนแอปพลิเคชันติ๊กต็อก ที่มีผลต่อพฤติกรรมตอบสนองของผู้บริโภค, ฉัตริน อินทร์เมือง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อคุณลักษณะของผู้ส่งสาร การวางสินค้าในงานโฆษณา และเนื้อหาเพื่อสิ่งแวดล้อมบนแอปพลิเคชันติ๊กต็อก และอธิบายอิทธิพลของคุณลักษณะของผู้ส่งสาร การวางสินค้าในงานโฆษณา และเนื้อหาเพื่อสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อพฤติกรรมตอบสนองของผู้บริโภค ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ ด้วยการใช้แบบสอบถาม เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่มีการเปิดรับเนื้อหาเพื่อสิ่งแวดล้อมบนแอปพลิเคชันติ๊กต็อก ระหว่างอายุ 18 – 44 ปี จำนวนทั้งสิ้น 175 ตัวอย่าง โดยวิเคราะห์ผลการวิจัยด้วยวิธีการสถิติแบบการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุคูณ (Multiple Linear Regression Analysis) แบบ Enter ข้อสรุปจากงานวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยว่าคุณลักษณะของผู้ส่งสารต้องมีประสบการณ์ในการสร้างเนื้อหาเพื่อสิ่งแวดล้อม ด้วยค่าเฉลี่ย 4.05 ส่วนการวางสินค้าในงานโฆษณาด้วยเนื้อหาที่มีความบันเทิง มีการเปิดรับทั้งด้านความถี่และระยะเวลามากที่สุด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 2.62 และเนื้อหาที่เน้นย้ำประโยชน์ของผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม มีการเปิดรับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 2.51 โดยผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐาน และมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยเนื้อหาเพื่อสิ่งแวดล้อม มีผลต่อพฤติกรรมตอบสนองของผู้บริโภคมากที่สุด (Beta=0.307) ดังนั้น จึงได้ข้อสรุปว่าเนื้อหาเพื่อสิ่งแวดล้อมบนแอปพลิเคชันติ๊กต็อก ต้องมีการสื่อสารให้เห็นประโยชน์ของผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม โดยใช้ระยะเวลา 1 – 5 นาที ส่วนการวางสินค้าในงานโฆษณา ควรใช้รูปแบบที่มีความบันเทิงเพื่อให้เกิดการเปิดรับที่มากที่สุด และสุดท้าย ควรใช้ผู้ส่งสารที่มีประสบการณ์ด้านการสร้างเนื้อหาเพื่อสิ่งแวดล้อม จึงจะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการตอบสนองของผู้บริโภคมากที่สุด และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น


พัฒนาการของแนวคิดการปกครองตนเองของท้องถิ่น: โอกาสและความท้าทายภายใต้การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง, ฒาลัศมา จุลเพชร Jan 2022

พัฒนาการของแนวคิดการปกครองตนเองของท้องถิ่น: โอกาสและความท้าทายภายใต้การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง, ฒาลัศมา จุลเพชร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการและการถกเถียงเกี่ยวกับแนวคิดการปกครองตนเองในสังคมไทย ประเมินสถานภาพความสัมพันธ์เชิงอำนาจราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น รวมถึงประเมินเงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกประเทศที่เป็นแรงกดดันหรือแรงต้านทานต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จากนั้นนำไปสู่การสังเคราะห์รูปแบบการปกครองตนเองจากทัศนะที่หลากหลาย โดยศึกษาจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงของการใช้แนวคิดการปกครองตนเองในสถานการณ์ที่แตกต่าง อันได้แก่ พื้นที่ท่ามกลางปัญหาความขัดแย้งรุนแรงมี การประกาศใช้กฎหมายพิเศษ (เทศบาลปัตตานี) พื้นที่พัฒนาเมืองอัจฉริยะโดยอาศัยโอกาสจากนโยบายประชารัฐ (เทศบาลนครขอนแก่น) และ พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ (เทศบาลนครแม่สอด) สำหรับวิธีการเก็บข้อมูลใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก จำนวน 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้บริหารของกระทรวงมหาดไทย (ส่วนกลาง) ผู้ว่าราชการจังหวัด (ส่วนภูมิภาค) และผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ นายกเทศมนตรี และรองนายกเทศมนตรี การสังเกตการณ์ (observation) อย่างมีส่วนร่วม และการสนทนากลุ่ม (focus group) ประกอบด้วย ประชาชนในพื้นที่ และผู้เคยร่วมงานกับผู้นำท้องถิ่น จำนวน 33 คน โดยนำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์แบบพรรณนาเชิงวิเคราะห์ ผลการวิจัยแบ่งได้เป็น 4 ส่วน ดังนี้ 1) พัฒนาการแนวคิดการปกครองตนเองเริ่มเด่นชัดขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.2540 เนื่องจากมีรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนที่สนับสนุนการกระจายอำนาจเต็มที่ และในปี พ.ศ. 2546 ผู้นำท้องถิ่น ทุกประเภทมาจากการเลือกตั้งโดยตรง ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 เกิดแนวคิดจังหวัดจัดการตนเอง ซึ่งมิติความเป็นตัวแทนมีมากที่สุด รองลงมามิติอำนาจตัดสินใจไม่สามารถยับยั้งโครงการจากส่วนกลางได้ ในขณะที่มิติการมีส่วนร่วมมีกลไก ไม่ชัดเจน สำหรับแนวคิดประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือเหมาะสมสำหรับส่งเสริมการมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่นแต่ยังไม่สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างแพร่หลาย ส่วนมิติในการปกครองตนเองที่น้อยที่สุด คือ จัดสรรทรัพยากรและความรับผิดรับชอบ ซึ่งไม่ได้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ 2) สถานภาพความสัมพันธ์เชิงอำนาจราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น เป็นการเจรจาต่อรองในฐานะหุ้นส่วนถ้าเป็นเรื่องเศรษฐกิจ แต่ถ้าเป็นเรื่องความมั่นคงเป็นการเจรจาเพื่อให้ส่วนกลางมีพื้นที่ในท้องถิ่น ในขณะที่โครงสร้างที่ส่วนกลางส่งลงมาท้องถิ่นมีลักษณะ “จำแลง” คือ โครงสร้างนโยบายของรัฐที่ต้องการใช้ท้องถิ่นจัดหาประโยชน์ให้ส่วนกลาง ทำให้ส่วนท้องถิ่นไม่สามารถใช้มิติการปกครอง 5 ด้านได้อย่างเต็มที่เพราะถูกกำกับดูแลด้วยคณะกรรมการต่างๆ ในจังหวัด 3) เงื่อนไขภายในที่เป็นทั้งแรงกดดันและแรงต้านขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหยั่งรากอยู่ในปริมณฑลทางการเมืองและเศรษฐกิจ ได้แก่ นโยบาย โครงสร้างการเปลี่ยนแปลงภายใน และโครงสร้างทางการเมือง ในทางตรงข้าม การดำเนินการและการปฏิบัติตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นแรงกดดันจากภายนอกเพื่อให้มีการปกครองตนเองมากขึ้น 4) ผลการสังเคราะห์รูปแบบการปกครองตนเองจากทัศนะที่หลากหลาย ได้แก่ ยุบรวม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับล่าง (Lower-Tier) ท้องถิ่นรูปแบบเมืองพิเศษ และการบริหารจังหวัดปกครองตนเอง ทั้งนี้ความท้าทายในการปกครองตนเองมี …


Social Word Of Mouth Valence And Role Of Moderators: An Integrated Model Of Consumer Decision Making, Angshuman Ghosh Dr, Sanjeev Varshney Dr, Shabbirhusain R.V. Dr Jan 2022

Social Word Of Mouth Valence And Role Of Moderators: An Integrated Model Of Consumer Decision Making, Angshuman Ghosh Dr, Sanjeev Varshney Dr, Shabbirhusain R.V. Dr

Journal of International Technology and Information Management

The study aimed at coming up with an integrated model of consumer decision making that captures the impact of social media word of mouth (SWOM) on consumers’ decision influencing variables including perceived risk, its impact on attitude towards the brand, and eventually on intention to purchase. The integrated model incorporates the impact of SWOM message valence along with moderating role played by various source and receiver level characteristics on the variables mentioned above. Two experiments with between-subject factorial designs were conducted for testing the hypotheses. The first study had 128 participants divided into eight groups and their responses were collected …


Will Products Liability Litigation Help Protect Iot Users From Cyber-Physical Attacks?, J Royce Fichtner, Troy J. Strader Jan 2022

Will Products Liability Litigation Help Protect Iot Users From Cyber-Physical Attacks?, J Royce Fichtner, Troy J. Strader

Journal of International Technology and Information Management

While there is an identifiable trend towards protecting consumers from data breaches and data misuses related to IoT devices through new legislation, new regulations, government enforcement actions, and private lawsuits, there has been little progress towards creating similar legally enforceable standards of care for “cyber-physical device security.” This article explores this underdeveloped area of academic inquiry into cyber-physical device security within the context of product liability litigation in the United States. The two questions addressed in this article are: (1) Have there been any successful products liability court decisions in the United States that have held IoT manufacturers liable for …


การเปรียบเทียบค่าช่วงเวลาเริ่มเสียงก้องของพยัญชนะกักในเสียงพูดและเสียงร้องเพลงของภาษาไทย, สรชัช พนมชัยสว่าง Jan 2022

การเปรียบเทียบค่าช่วงเวลาเริ่มเสียงก้องของพยัญชนะกักในเสียงพูดและเสียงร้องเพลงของภาษาไทย, สรชัช พนมชัยสว่าง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ลักษณะที่แสดงความแตกต่างของเสียงพูดและเสียงร้องเพลงในทางกลสัทศาสตร์นั้นได้มีการศึกษาพบหลายลักษณะด้วยกัน หนึ่งในนั้นรวมถึงลักษณะที่ไม่เกี่ยวข้องกับส่วนที่เป็นเสียงก้อง เช่นค่าช่วงเวลาเริ่มเสียงก้องของพยัญชนะกัก (Voice Onset Time) ซึ่งแสดงค่าระยะเวลาจากจุดเปิดฐานกรณ์จนถึงจุดที่เกิดการสั่นของเส้นเสียงของพยัญชนะกักในตำแหน่งต้นพยางค์ งานวิจัยที่ผ่านมาซึ่งศึกษาภาษาอังกฤษพบว่าเสียงร้องเพลงจะมีค่าช่วงเวลาเริ่มเสียงก้องของพยัญชนะกักน้อยกว่าเสียงพูด ในงานวิจัยชิ้นนี้ซึ่งศึกษาในภาษาไทยซึ่งมีความแตกต่างในการเปรียบต่างทางสัทวิทยาของพยัญชนะกักนั้น ได้ศึกษาด้วยวิธีการที่มีต้นแบบจากงานที่ผ่านมาในภาษาอังกฤษ และวิเคราะห์ทางสถิติด้วย mixed-effect linear regression พบว่า ความแตกต่างของค่าช่วงเวลาเริ่มเสียงก้องของพยัญชนะกักระหว่างเสียงพูดและเสียงร้องเพลงนั้น มีนัยสำคัญเพียงในพยัญชนะกักไม่ก้องพ่นลมเท่านั้น โดยมีแนวโน้มที่เสียงร้องเพลงจะมีค่าช่วงเวลาเริ่มเสียงก้องของพยัญชนะกักมากกว่าเสียงพูด ซึ่งต่างกับในงานวิจัยในภาษาอังกฤษ นำมาสู่ข้อสรุปว่าความแตกต่างของเสียงพูดและเสียงร้องเพลงในภาษาไทยนั้นอาจมีการพ่นลมเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญ ซึ่งน่าจะเกิดจากการเน้นพยัญชนะให้ชัดเจนในขณะร้องเพลง


ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารด้านการท่องเที่ยวกับการตัดสินใจท่องเที่ยวต่างประเทศหลังสถานการณ์โควิด-19, พราวศินี พันธ์ทา Jan 2022

ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารด้านการท่องเที่ยวกับการตัดสินใจท่องเที่ยวต่างประเทศหลังสถานการณ์โควิด-19, พราวศินี พันธ์ทา

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการเปิดรับข่าวสารด้านการท่องเที่ยวและการตัดสินใจท่องเที่ยวต่างประเทศ ศึกษาความแตกต่างของลักษณะทางประชากร และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสารด้านการท่องเที่ยวกับการตัดสินใจท่องเที่ยวต่างประเทศหลังสถานการณ์โควิด-19 ของนักท่องเที่ยวไทย โดยการวิจัยในครั้งนี้ เป็นการทำวิจัยเชิงปริมาณ ในรูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มเป้าหมายคือนักท่องเที่ยวไทยที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพและปริมณฑล อายุ 18 – 39 ปี ที่มีแนวโน้มท่องเที่ยวต่างประเทศหลังสถานการณ์โควิด-19 (ปี 2566 – 2567) รวมจำนวนทั้งสิ้น 410 ตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่า นักท่องเที่ยวไทยมีการเปิดรับข่าวสารด้านการท่องเที่ยวผ่านสื่ออินเทอร์เน็ตมากที่สุด รองลงมาคือ สื่อบุคคล ในขณะที่สื่อมวลชน สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อเฉพาะกิจ กลุ่มตัวอย่างแทบไม่เคยหรือไม่เปิดรับเลย โดยสื่ออินเทอร์เน็ต ยังเป็นสื่อหลักที่นักท่องเที่ยวไทยนิยมหาข้อมูลข่าวสารการท่องเที่ยว ในส่วนของความต้องการเนื้อหาข่าวสารเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ยังคงให้ความสำคัญทางด้านความปลอดภัย โดยยังมีความต้องการข่าวสารด้านโควิด-19 อยู่ นอกจากนี้นักท่องเที่ยวยังมีแนวโน้มในการตัดสินใจไปท่องเที่ยวต่างประเทศภายในปี 2567 อย่างแน่นอน โดยอยากไปประเทศใหม่ที่ยังไม่เคยไป โดยให้ความสำคัญในเรื่องของการประเมินผลก่อนการตัดสินใจ โดยเหตุผลหลักของความต้องการท่องเที่ยวต่างประเทศของนักท่องเที่ยวไทย คือ ความสวยงามของประเทศนั้นเป็นอันดับแรก รองลงมาคือ ต้องการพักผ่อนหย่อนใจ ซึ่งสืบเนื่องช่วงที่มีการระบาดโควิด-19 นักท่องเที่ยวไทยมีความจำเป็นต้องกักตัวจากโควิด-19 ทำให้ไม่สามารถท่องเที่ยวต่างประเทศเป็นระยะเวลานาน


Addressing Post –Covid-19 Pandemic Depression, Aria Elahi Jan 2022

Addressing Post –Covid-19 Pandemic Depression, Aria Elahi

Family Medicine Clerkship Student Projects

This community project explores the impact of the COVID-19 pandemic on mental health, particularly focusing on depression, and introduces an intervention in the form of a pamphlet distributed at Newtown Primary Care. The pamphlet addresses individuals experiencing worsened depression due to the pandemic, regardless of COVID-19 infection status, and includes the PHQ-2 and PHQ-9 screening questionnaires for self-assessment. Insights from interviews with Newtown Primary Care were instrumental in designing the pamphlet.

Results reveal that the pandemic has substantially affected patients' mental health, increasing the need for resources. Patients diagnosed with pre-existing depression experienced worsening symptoms due increased stressors due to …


Tackling Access To A Healthier Life, Edom Alemayehu Girma Jan 2022

Tackling Access To A Healthier Life, Edom Alemayehu Girma

Family Medicine Clerkship Student Projects

Obesity is a known risk factor for complications during childhood and later in adult life. While numerous factors play a role in the prevalence of obesity, this project focused on better intervention for obesity management in the family medicine clinic located in Plattsburgh, NY. Interviews and literature searches were conducted to determine possible strategies to better assist patients in attaining their sustainable weight loss goals and an overall healthier lifestyle.


Determinants Of Sustainability: A Case Of Piloting Isard Models In Oriental Mindoro And Leyte, Philippines, Pedcris M. Orencio, Anna Gale Vallez, Ruth Jazrel M. Bandong Jan 2022

Determinants Of Sustainability: A Case Of Piloting Isard Models In Oriental Mindoro And Leyte, Philippines, Pedcris M. Orencio, Anna Gale Vallez, Ruth Jazrel M. Bandong

Environmental Science Faculty Publications

SEARCA, in its 10th five-year plan (10th FYP), implemented the program, Inclusive and Sustainable Agricultural and Rural Development (ISARD). A pilot project was undertaken in a specific rural community following a well-defined scheme for an agroecosystem and through the integration of four inter-related components, technical assistance, capacity building, knowledge management, and linkage and networking. After the completion in 2020, evidences of well-developed agricultural system capable of contributing to the goals of food security and poverty alleviation emerged. In its 11th FYP, SEARCA endeavors to scale out the ARD model project in the Southeast Asian region. But, how will this benefit …


การทำนายพฤติกรรมแยกขยะพลาสติกในครัวเรือนด้วยทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนและการพิจารณาถึงผลลัพธ์ในอนาคต, พีรยา พูลหิรัญ Jan 2022

การทำนายพฤติกรรมแยกขยะพลาสติกในครัวเรือนด้วยทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนและการพิจารณาถึงผลลัพธ์ในอนาคต, พีรยา พูลหิรัญ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

พฤติกรรมแยกขยะพลาสติกในครัวเรือนเป็นพฤติกรรมที่มีความสำคัญต่อการแก้ไขปัญหาขยะพลาสติกในระยะยาวในยุคที่บรรจุภัณฑ์พลาสติกเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ปัจจุบันยังขาดองค์ความรู้โดยเฉพาะในบริบทของประเทศไทยเกี่ยวกับปัจจัยที่สนับสนุนและขัดขวางการเกิดพฤติกรรมแยกขยะ ผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาปัจจัยตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนและปัจจัยการพิจารณาผลลัพธ์ในอนาคตที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมแยกขยะพลาสติกในครัวเรือนโดยเน้นศึกษาขยะพลาสติก 3 ชนิด ได้แก่ ถุงพลาสติกหูหิ้ว ถุงพลาสติกบรรจุอาหาร และกล่องพลาสติกบรรจุอาหาร กลุ่มตัวอย่าง (n = 126) ได้แก่ ผู้มีอายุ 18 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครอย่างน้อย 1 ปี ทำการตอบแบบสอบถามการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ และรายงานพฤติกรรมแยกขยะพลาสติกในครัวเรือนใน 2 สัปดาห์ต่อมา ผลจากการวิจัยพบว่า การรับรู้การควบคุมพฤติกรรมมีอิทธิพลทางบวกต่อพฤติกรรมทั้งทางตรงและทางอ้อมผ่านเจตนาต่อพฤติกรรม โดยการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงมีอิทธิพลทางอ้อมผ่านเจตนาต่อพฤติกรรมเท่านั้น อย่างไรก็ตามพบปัจจัยที่ไม่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมโดยมีเจตนาต่อพฤติกรรมเป็นตัวแปรส่งผ่าน ได้แก่ เจตคติต่อพฤติกรรมและการพิจารณาผลลัพธ์ในอนาคต และพบว่าปฏิสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อพฤติกรรมและการรับรู้การควบคุมพฤติกรรม และ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงและการรับรู้การควบคุมพฤติกรรม ไม่สามารถทำนายเจตนาต่อพฤติกรรมได้ โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมแยกขยะพลาสติกในครัวเรือนมากที่สุด ได้แก่ การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม โดยกลุ่มตัวอย่างมีความเชื่อว่าการมีพื้นที่สำหรับแยกขยะพลาสติกในครัวเรือน การมีถังขยะของส่วนกลางรองรับ และการได้รับรู้ว่าการแยกขยะพลาสติกในครัวเรือนก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านใดบ้างเป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมแยกขยะพลาสติกในครัวเรือนได้


การรายงานข่าวโควิด-19 บนแพลตฟอร์มติ๊กต๊อกของไทยรัฐ, ว่านเพิง หยู Jan 2022

การรายงานข่าวโควิด-19 บนแพลตฟอร์มติ๊กต๊อกของไทยรัฐ, ว่านเพิง หยู

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเนื้อหา รูปแบบ/หน้าที่ และแนวทางของการรายงานข่าวโควิด-19 บนแพลตฟอร์มติ๊กต๊อกของไทยรัฐ โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) สำรวจเนื้อหาที่เกี่ยวกับโรคโควิด-19 ที่นำเสนอบนแพลตฟอร์มติ๊กต๊อกของสำนักข่าวไทยรัฐ ระหว่างวันที่ 2 มิถุนายน 2563 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2565 จำนวน 179 คลิป หลังจากนั้นนำเนื้อหาที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์และประมวลผล และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กับผู้ดูแลบัญชีไทยรัฐบนแพลตฟอร์มติ๊กต๊อก ผู้เชี่ยวชาญด้านวิชาการ และแฟนคลับบนแพลตฟอร์มติ๊กต๊อกของไทยรัฐ เพื่ออธิบายผลการวิจัยเพิ่มเติม ผลการวิจัยพบว่า สำนักข่าวไทยรัฐมีการนำเสนอข่าวโควิด-19 ในประเด็นสำคัญ เช่น สถานการณ์การแพร่ระบาด นโยบายการควบคุมโรคระบาด การบริหารจัดการวัคซีน วิธีการดูแลตัวเอง/แนวทางการป้องกัน และมาตรการเยียวยา เป็น สำหรับรูปแบบ/หน้าที่ในการนำเสนอมีทั้งการสื่อสารสุขภาพ รูปแบบบันเทิงสารสนเทศ และสื่อสร้างความผูกพัน ในส่วนของแนวทางในการนำเสนอพบว่า มีทั้งแนวทางการให้ข่าวสาร แนวทางการให้ความรู้ และแนวทางการชักจูงใจ ผู้วิจัยเสนอว่าการใช้แพลตฟอร์มติ๊กต๊อกในการรายงานข่าวมีข้อดีในการผลิตเนื้อหาได้รวดเร็วและยังสามารถเข้าถึงผู้ชมได้ง่าย เพิ่มศักยภาพในการสื่อสารสุขภาพและสร้างการมีส่วนร่วมในการสื่อสารช่วงระบาดได้ แต่ขณะเดียวกันยังยังขาดประสิทธิภาพในการเล่าเรื่องเชิงวารสารศาสตร์ และต้องระมัดระวังเรื่องความถูกต้องและคววามน่าเชื่อถือของข้อมูลบนแพลตฟอร์มด้วย


อิทธิพลของสัทสมบัติและสัทบริบทที่มีต่อระดับความก้องและค่าความเข้มของพยัญชนะกักภาษาไทย: นัยยะต่อการแพร่ละอองลอย, ก้องเวหา อินทรนุช Jan 2022

อิทธิพลของสัทสมบัติและสัทบริบทที่มีต่อระดับความก้องและค่าความเข้มของพยัญชนะกักภาษาไทย: นัยยะต่อการแพร่ละอองลอย, ก้องเวหา อินทรนุช

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการแปรของค่าระดับความก้องในช่วงปิดฐานกรณ์และความชันของค่าความเข้มพลังลมของช่วงเปิดฐานกรณ์ของพยัญชนะกักที่มีสัทสมบัติและปรากฏในสัทบริบทที่แตกต่างกัน 2) ศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างค่าระดับความก้องในช่วงปิดฐานกรณ์และความชันของค่าความเข้มพลังลมของช่วงเปิดฐานกรณ์ในการออกเสียงพยัญชนะกักภาษาไทยที่มีสัทสมบัติและปรากฏในสัทบริบทที่แตกต่างกัน 3) อภิปรายนัยยะของผลการแปรและปฏิสัมพันธ์ของค่าระดับความก้องและความชันของค่าความเข้มพลังลมต่อการแพร่ของละอองลอย ในการวิเคราะห์การแปรของค่าทางกลสัทศาสตร์ เก็บข้อมูลเสียงของบอกภาษา 10 คนจากคำพูดต่อเนื่อง 48 คำที่ประกอบขึ้นจากพยัญชนะกักก้องและไม่ก้องภาษาไทยใน 2 สัทบริบท นอกจากนี้ นำผลของค่าทางกลสัทศาสตร์มาเชื่อมโยงกับนัยยะของการแพร่ละอองลอย ผลการศึกษาการแปรของค่าทางกลสัทศาสตร์พบว่า 1) เมื่อเรียงลำดับตามระดับความก้องของพยัญชนะกักมีรูปแบบเดียวกันทั้ง 2 สัทบริบท คือ กักก้อง > ก้กไม่ก้องพ่นลม > ก้กไม่ก้องไม่พ่นลม เมื่อเปรียบเทียบระหว่างสัทบริบทพบว่า ตำแหน่งระหว่างสระ > ตำแหน่งนำหน้าสระ ซึ่งความต่างของประเภทพยัญชนะกักและสัทบริบทมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 2) เมื่อเรียงลำดับตามความชันของค่าความเข้มพลังลมของพยัญชนะกักมี 2 รูปแบบทั้ง 2 สัทบริบท คือ รูปแบบ 1 กักไม่ก้องไม่พ่นลม > ก้กไม่ก้องพ่นลม > ก้กก้อง และรูปแบบ 2 กักไม่ก้องพ่นลม > ก้กไม่ก้องไม่พ่นลม > ก้กก้อง ซึ่งมีความต่างของประเภทพยัญชนะกักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 แต่ไม่พบความต่างระหว่างสัทบริบท ผลการศึกษาปฏิสัมพันธ์ของระดับความก้องและความชันของค่าความเข้มพลังลมต่อนัยยะของการแพร่ละอองลอยอนุมานได้ว่า ในแต่ละสัทบริบท พยัญชนะก้กไม่ก้องพ่นลมจะมีแนวโน้มของอัตราการแพร่ละอองลอยมากที่สุด เนื่องจากมีระดับความก้องเพิ่มขึ้นในระดับเดียวกับพยัญชนะกักก้องและมีความชันของค่าความเข้มพลังลมในระดับสูง รองลงมาคือพยัญชนะกักไม่ก้องไม่พ่นลม และน้อยสุดคือพยัญชนะกักก้อง ข้อค้นพบในครั้งนี้แสดงให้เห็นปัจจัยของสัทสมบัติและสัทบริบทที่มีผลต่อการแปรของค่าทางกลสัทศาสตร์ของพยัญชนะกัก นอกจากนี้ การไล่ระดับแนวโน้มของอัตราการแพร่ละอองลอยช่วยชี้ให้เห็นความน่าจะเป็นของการแพร่เชื้อโรคที่อาจเกิดขึ้นเฉพาะในบริบทภาษาไทย


Glocalization Of Bronze Drums In Southeast Asia: The Case Of Bronze Drums In State Ceremonies Of Thailand, Taixing Li Jan 2022

Glocalization Of Bronze Drums In Southeast Asia: The Case Of Bronze Drums In State Ceremonies Of Thailand, Taixing Li

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The Bronze Drum is a living specimen of Southeast Asian culture and a testimony to the development of Southeast Asian societies for more than 2,000 years. The Bronze Drum has been inherited dynamically hitherto, and the Thai state ceremonies still adopt it. However, current scholarship on Bronze Drums is confined chiefly to static studies, which caused the omission of the essence of glocalization. This thesis adopts the theory of glocalization, namely that the Bronze Drum is the result of the interpenetration of the global and the local, resulting in unique outcomes in a specific geographic location, and then applies an …