Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Physical Sciences and Mathematics Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Chulalongkorn University

Discipline
Keyword
Publication Year
Publication
Publication Type

Articles 1351 - 1380 of 2268

Full-Text Articles in Physical Sciences and Mathematics

Clifford Algebra-Valued Segal-Bargmann Transform, Sorawit Eaknipitsari Jan 2017

Clifford Algebra-Valued Segal-Bargmann Transform, Sorawit Eaknipitsari

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

A classical Segal-Bargmann transform maps square-integrable functions on R to holomorphic square-integrable functions on C with respect to some Gaussian measure. In this work, we extend the classical Segal-Bargmann transform to functions taking values in a Clifford algebra. We establish that in this setting, the generalized Segal-Bargmann transform is a unitary isomorphism mapping Clifford algebra-valued square-integrable functions on Rⁿ with respect to some Gaussian measure to monogenic square-integrable functions on Rⁿ⁺¹ with respect to another Gaussian measure. We also discuss about the differential and multiplication operators in the monogenic functions space as well as certain properties of their domains.


Complete Convergence For Sequences Of Coordinatewise Widely Orthant Dependent Random Vectors In Hilbert Spaces, Teerayut Phutthanukool Jan 2017

Complete Convergence For Sequences Of Coordinatewise Widely Orthant Dependent Random Vectors In Hilbert Spaces, Teerayut Phutthanukool

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this thesis, we introduce a new dependence concept for a sequence of random vectors taking values in real separable Hilbert spaces called coordinate-wise widely orthant dependence and extend the Baum-Katz Theorem to obtain complete convergence and complete moment convergence for a sequence of co-ordinatewise widely orthant dependent random vectors taking values in Hilbert spaces.


Strategies For Playing Closing Octagons Game In Some Situations, Thitiphut Leelathanakit Jan 2017

Strategies For Playing Closing Octagons Game In Some Situations, Thitiphut Leelathanakit

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Closing Octagons game is a combinatorial game for two players that we modify from Dots and Boxes game and Dots and Hexagons game. The game starts with an m × n array of octagons such that every two adjacent octagons has one common side and 0 points for both players. Two players alternately turn by the following rules. (i) A player moves by coloring one side of an octagon. (ii) A player who colors the eighth side of k octagons earns k points and takes one more move. The game ends when every side of octagons has been colored and …


Patterns Of Lines Intersecting On Plane, Wongtawan Chamnan Jan 2017

Patterns Of Lines Intersecting On Plane, Wongtawan Chamnan

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this work, we are interested in patterns of n lines on the plane such that lines produce M intersecting points. One famous related problem is called Fourier's 17 line problem. Although there are only a few known necessary conditions for realization, some arrangements may not even drawable. Consequently, we try to find more necessary conditions for this problem that can lead to possible arrangements and realize the arrangements. We provide a systematic algorithm to draw the possible arrangements. We establish lemmas for the direct drawing and find some certain cases of arrangements which are drawable. We also provide another …


Metal-Salen Derivatives For Electro-Reduction Of Carbon Dioxide, Kantima Chitchak Jan 2017

Metal-Salen Derivatives For Electro-Reduction Of Carbon Dioxide, Kantima Chitchak

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Copper(II) salen, salophen-based ligands, and their corresponding copper complexes were prepared and utilized for the electrocatalytic reduction of carbon dioxide. Controlled-potential electrolysis of copper(II) salen electrocatalyst with carbon dioxide in non-aqueous solution was investigated to obtain the optimized electrolysis condition including the applied potential and proton donor quantity. With the applied potential of –2.10 V, carbon monoxide (3.50-16.30%) was obtained as the only product in gas phase. Methane was additionally found with the addition of proton donor and its maximum percentage (0.39 ± 0.00%) were obtained from the electrolysis with 25.00 mM proton donor and 2.00 mM copper(II) salen. Moreover, …


Synthesis Of Ni-Tin Incorporated Porous Silica Catalysts For Dry Reforming Of Methane, Maslin Chotirach Jan 2017

Synthesis Of Ni-Tin Incorporated Porous Silica Catalysts For Dry Reforming Of Methane, Maslin Chotirach

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

A new titanium nitride (TiN) promoted nickel catalyst was synthesized and tested as an alternative catalyst in the dry reforming of methane (DRM). The series of this catalyst with various Ni and TiN contents was prepared in two steps, direct synthesis of SBA-15 in the presence of TiN, followed by the impregnation of Ni. The influence of TiN promoted Ni-based catalyst on dry reforming reaction was investigated at the temperature of 700ºC and atmospheric pressure for a duration of 4 h, using feed ratio of CH4/CO2 = 1. The promising catalysts, that gave highest CO2 and CH4 conversions as well …


Development Of Poly(Aryleneethynylene)S Synthesis And Application As Fluorescent Sensor, Nopparat Thavornsin Jan 2017

Development Of Poly(Aryleneethynylene)S Synthesis And Application As Fluorescent Sensor, Nopparat Thavornsin

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this research, we focus on preparation and sensor application of poly(aryleneethynylene)s. Our work is divided into two parts. The first study relates to the utilization of salicylaldimine-functionalized poly(m-phenyleneethynylene) as a turn-on chemosensor for ferric ion (Fe3+). The second part is the preparation of highly pure poly(aryleneethtnylene)s using Pd/CaCO3 as a heterogeneous catalyst. In the first part, a new turn-on fluorescent probe for ferric ion based on poly(m-phenyleneethynylene salicylaldimine) (PPE-IM) is developed. The preparation of PPE-IM involves post-polymerization functionalization of corresponding polymeric amine, PPE-AM, via condensation with salicylaldehyde. Degree of polymerization of both PPE-AM and PPE-IM are 17 with polydispersity …


Fecu/Sio2 Catalysts Prepared By Autocombustion Method For Fischer-Tropsch Synthesis, Suthasinee Pengnarapat Jan 2017

Fecu/Sio2 Catalysts Prepared By Autocombustion Method For Fischer-Tropsch Synthesis, Suthasinee Pengnarapat

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The purpose of this study was to prepare iron-based catalysts supported on silica by autocombustion method for directly using for Fischer-Tropsch synthesis (FTS) without a reduction step. The effect of different citric acid (CA):iron nitrate (N) molar ratios (CA:N), acid types and SiO2 supports on the FTS performance of catalysts were investigated. The CA:N had an important influence on the formation of iron active phases (FexC) and FTS activity. Increasing the CA:N molar ratios up to 0.1 increased CO conversion of catalyst to 86.5%, which was then decreased markedly at higher CA:N molar ratios. An excess of CA resulted in …


Electrochemical Sensors For Human Papillomavirus Dna, C-Reactive Protein And Food Colorants Detections, Sakda Jampasa Jan 2017

Electrochemical Sensors For Human Papillomavirus Dna, C-Reactive Protein And Food Colorants Detections, Sakda Jampasa

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this dissertation, electrochemical sensors for determination of medical biomolecular markers and food colorants were developed. The research can be divided into two parts. In the first part, electrochemical sensors for determination of clinically important biomarkers were studied. There was two subprojects based on the target markers. The first subproject was the development of electrochemical sensor for the simultaneous detection of high-risk human papillomaviruses (HPV) DNA type 16 and 18 as biomarkers for cervical cancer. In this work, a highly specific pyrrolidinyl peptide nucleic acid was employed as DNA capture probe for both target DNAs. A second PNA probe labeled …


Functional Surfactants In Lubricant For Microelectronic Industry, Chuenkamol Khongphow Jan 2017

Functional Surfactants In Lubricant For Microelectronic Industry, Chuenkamol Khongphow

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The functional surfactants, as the additional additives in the standard glycol-based lubricant were studied and optimized to reduce and protect the surface of the magnetic read/write head from deposited contaminants during the lapping processes. The scanning electron microscopy (SEM) and energy-dispersive x-ray spectroscopy (EDS) results identified that the black contamination was bismuth (Bi) particles, came out from lapping plate during the lapping process due to wear. Selected surfactants exhibited the results in reduce and prevent the deposition of contaminants by forming the micelle beyond their critical micelle concentration (CMC) values. We found that both polyethoxylate alcohol (PEAL) and quaternary amines …


Synthesis Of Puerarin-Gold Nanoparticles For Transdermal Delivery, Kwanruen Chanpeng Jan 2017

Synthesis Of Puerarin-Gold Nanoparticles For Transdermal Delivery, Kwanruen Chanpeng

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Puerarin (Pur) is herbal medicine that its inflammatory response but low solubility to reduce activity. Thus, the aim of this study was to synthesize q188-kappa-carrageenan@Pur@gold nanoparticles (q188-κ-c@Pur@AuNPs) for enhancing solubility and transdermal delivery. The κ-c was synthesized by quaternization of κ-c with 25% (v/v) q188, and the q188-κ-c @AuNPs was prepared by reducing HAuCl4 into AuNPs by using 25% (v/v) q188-κ-c as reducing and stabilizing agents. The highest degree of quaternization (%DQ) at 21.12% was found q188 addition, which was calculated from 1H NMR. The solubility of the q188-κ-c derivatives was 43.7±0.01%, which higher than κ-c. The size of synthesized …


Hydrodeoxygenation Of Oleic Acid On Unsupported Co-Mo And Ni-Mo Sulfide Catalysts, Paphawee Sanggam Jan 2017

Hydrodeoxygenation Of Oleic Acid On Unsupported Co-Mo And Ni-Mo Sulfide Catalysts, Paphawee Sanggam

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this research, hydrodeoxygenation (HDO) of oleic acid (model compound of palm oil) over unsupported Co-Mo and Ni-Mo sulfide catalysts was carried out in Parr reactor to produce bio-hydrogenated diesel (BHD). The effects of reaction parameters: temperature, hydrogen pressure and the mole ratio of catalysts (Ni/(Ni+Mo) or Co/(Co+Mo)) on the conversion and product yields (mainly n-C17 and n-C18 hydrocarbons) were investigated to find the optimal conditions. The results showed that high pressure favored a HDO pathway, while high temperature strongly affected to decarboxylation and decarbonylation pathways. At optimal condition as temperature of 280oC, reaction times of 6 h and hydrogen …


Mixed Metal Oxide Catalysts Derived From Natural Sources For Production Of Fatty Acid Methyl Esters, Wayu Jindapon Jan 2017

Mixed Metal Oxide Catalysts Derived From Natural Sources For Production Of Fatty Acid Methyl Esters, Wayu Jindapon

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The objectives of this research are to study active sites of Ca-based catalysts derived from calcite (CaCO3) and dolomite (CaMg(CO3)2), and to clarify catalytic effect of MgO in the calcined dolomite as catalyst in transesterification of palm oil with methanol. Firstly, the effects of calcination temperature on evolution of MgO in dolomite and its catalytic activity were studied. The MgO containing in the calcined dolomite was not active, while the main active site was CaO. However, Ca and Mg mixed oxides obtained from calcined dolomite had higher activity than that prepared by physical mixing in which calcite and magnesite (MgCO3) …


Preparation Of Porous Carbon From Popped Rice Via Impregnated Water Coupled With Freeze-Drying Process, Purichaya Nisawa-Anutaraphan Jan 2017

Preparation Of Porous Carbon From Popped Rice Via Impregnated Water Coupled With Freeze-Drying Process, Purichaya Nisawa-Anutaraphan

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Activated carbon is an interesting material due to its high surface area derived from the highly porous structure. This material is suitable for using as a good adsorbent in various applications such as wastewater treatment, gas absorption and medicine. Production of activated carbon typically consists of two steps which are carbonization and activation. Agricultural wastes are used as carbon sources. This research focuses on the production of activated carbon from popped rice due to its appropriate chemical and structural characteristics, including highly starch content and connected-pore structure. Therefore, it should potentially be applied to produce activated carbon if the surface …


Photooxidation Of Organosulfur Compounds Catalyzed By Iodo-Bodipy Derivatives Under Visible Light Irradiation, Piyamaporn Tangkasemsamran Jan 2017

Photooxidation Of Organosulfur Compounds Catalyzed By Iodo-Bodipy Derivatives Under Visible Light Irradiation, Piyamaporn Tangkasemsamran

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this work, iodo-BODIPY derivatives, I-GB, 3I-GB, I-RB, were synthesized and used as photocatalysts for oxidation of organosulfurs such as thiols and thioethers into the corresponding disulfides and sulfoxides, respectively, as well as compared with benchmark photocatalyst, rose bengal. All BODIPY derivatives were successfully synthesized in good yields (36-80%) via condensation reaction between 4-iodobenzaldehyde and corresponding pyrroles, followed by oxidation with DDQ and complexation with BF3.OEt2. Among all synthesized BODIPYs, 3I-GB and 3I-RB showed relatively low quantum yield (0.053-0.054) with high singlet oxygen generation efficiency under green LED suggesting that both of them could serve as good photocatalysts for sulfur …


Effect Of Metallocene Elastomers And Screw Speed On Polypropylene Compounds: Morphological And Physical Properties, Supot Ponhan Jan 2017

Effect Of Metallocene Elastomers And Screw Speed On Polypropylene Compounds: Morphological And Physical Properties, Supot Ponhan

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Polypropylene (PP) which is widely used in automotive industries can replace engineering plastics and metals due to its outstanding mechanical properties, moldability and reduced weight. Some automotive parts such as bumper require higher impact resistance, which is the limited property of PP. The aim of this work is to improve the impact properties with balancing the stiffness-impact properties and the physical properties by blending PP with metallocence elastomer (POE) using a twin screw extruder. The effects of PP and POE type and blending ratio on the PP/POE blends properties and morphology was studied. The results showed that the impact strength …


Molecular Dynamics Of Single-Wall Carbon Nanotube Wrapped With Polypropylene, Wanwisa Panman Jan 2017

Molecular Dynamics Of Single-Wall Carbon Nanotube Wrapped With Polypropylene, Wanwisa Panman

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Nowadays, the nanocomposite materials have been widely used in various applications due to their unique properties such as thermal and electrical properties. Polymer/carbon nanotube (CNT) nanocomposite is one the important nanocomposite materials that are manufactured for improving thermal conductivity and electrical properties of polymers. Unfortunately, polypropylene (PP)/CNT preparation is difficult because of CNT dispersion and aggregation. Accordingly, amylose (AMY) and chitosan (CS) are selected in the present study in order to demonstrate how AMY and CS could diminish such problems by non-covalent modification on outer surface of single-walled CNT using molecular dynamics (MD) simulations. The MD results reveal that AMY …


Plasma Characteristics And Ion Etching Performance In Hard Disk Drive Slider Fabrication Processes, Napakan Wongpanit Jan 2017

Plasma Characteristics And Ion Etching Performance In Hard Disk Drive Slider Fabrication Processes, Napakan Wongpanit

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

A hard disk drive (HDD) is the permanent magnetic data storage and one of the most important components of computers, electronic devices and cloud data storage service facility. The data reading and writing are operated by the reader and writer parts of HDD head or slider. These reader and writer were made of multilayer thin ilms of different materials, forming a tunneling magnetoresistive (TMR) device. In HDD production, the ion beam etching (IBE) process was used in the preparation of surface patterns and cleaning in many fabrication steps. The Monte Carlo-based simulation package, SRIM was applied to calculate the etching …


Effects Of Gamma Ray Irradiation On Structural And Optical Properties Of Csi:Tl Crystals, Poramin Sintham Jan 2017

Effects Of Gamma Ray Irradiation On Structural And Optical Properties Of Csi:Tl Crystals, Poramin Sintham

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

In this research work, effects of gamma ray irradiation on structural and optical properties of CsI doped with Tl (CsI:Tl), which is a scintillator material used for radiation detector applications, were investigated by field emission scanning electron microscopy (FESEM), X-ray diffraction (XRD), UV-VIS spectroscopy and X-ray luminescence spectroscopy. The CsI:Tl crystals used in this study were grown by a modified homemade Bridgman-Stockbarger technique with CsI powder precursors purities of 99.999% and 99.9% and with the same amount of Tl in form powder of Tl. It is observed that CsI:Tl crystal grown with the 99.999% CsI powder precursor exhibited a colorless …


Tribological Characterization Of Lapping Lubricant In Hard Disk Drive Fabrication, Sawanee Jitphayomkun Jan 2017

Tribological Characterization Of Lapping Lubricant In Hard Disk Drive Fabrication, Sawanee Jitphayomkun

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

One of the most important processes in hard disk drive fabrication is the lapping process. As two bodies are in contact, the friction occurs, and the softer material can be worn out by the harder. By using lubricant in the lapping process, it does not only reduce the friction, but it also transfers heat and captures debris away from the surface contacts. This thesis work focused on the effects of tribological parameters toward the characteristics of lubricants, using ball-on-disk tribometer. The tribological behaviors between using different base lubricants were investigated. At the same condition as final lapping process, EG-based and …


ไฮโดรดีออกซีจีเนชันของกวัยอะคอลและน้ำมันชีวภาพบนนิกเกิลโมลิบดินัม/เซอร์โคเนีย-อะลูมินา, ชนิสรา แผ่นผา Jan 2017

ไฮโดรดีออกซีจีเนชันของกวัยอะคอลและน้ำมันชีวภาพบนนิกเกิลโมลิบดินัม/เซอร์โคเนีย-อะลูมินา, ชนิสรา แผ่นผา

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ต้องการสังเคราะห์และศึกษาอิทธิพลของตัวรองรับ ZrO2-Al2O3 ต่อกัมมันตภาพของตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลโมลิบดินัมบนตัวรองรับผสมเซอร์โคเนีย-อะลูมินา (NiMo/ZrO2-Al2O3) เพื่อใช้ในการเร่งปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซีจีเนชันของกวัยอะคอลและน้ำมันชีวภาพ โดยทำการสังเคราะห์ตัวรองรับผสมเซอร์โคเนียและอะลูมินาที่อัตราส่วนโดยโมลเซอร์โคเนียต่ออะลูมินา (ZrO2/Al2O3) เท่ากับ 0/1 1/4 2/3 4/1 และ 1/0 ด้วยวิธีไฮโดรเทอร์มอล (hydrothermal method) จากนั้นสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยา NiMo บนตัวรองรับผสมเซอร์โคเนีย-อะลูมินา ด้วยวิธีอิมเพรกเนชัน (impregnation method) โดยใช้นิกเกิล 3.3% และโมลิบดินัม 15% โดยน้ำหนักของตัวรองรับ ศึกษาภาวะในการไฮโดรดีออกซีจีเนชัน ได้แก่ ความดันแก๊สไฮโดรเจนเริ่มต้น (10-30 บาร์) และระยะเวลาในการทำปฏิกิริยา (2-6 ชม.) ก่อนทำปฏิกิริยาตัวเร่งปฏิกิริยาถูกรีดักชัน (reduction) แบบอิน-ซิทู (in-situ) ที่ความดันแก๊สไฮโดรเจนเริ่มต้น 10 บาร์ อุณหภูมิ 400 oซ เป็นเวลา 2 ชม. ทำไฮโดรดีออกซีจีเนชันที่อุณหภูมิ 300 oซ ควบคุมอัตราการกวนอยู่ที่ 400 รอบ/นาที จากการศึกษาพบว่า การใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา NiMo/ZrO2-Al2O3 ทำให้ค่าการเปลี่ยนแปลงกวัยอะคอลและปริมาณฟีนอลมีแนวโน้มลดลงเมื่อปริมาณ ZrO2 เพิ่มขึ้น แต่สามารถยับยั้งการเกิดโค้กบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาได้เมื่อเทียบกับการใช้ตัวรองรับ Al2O3 ในส่วนของภาวะในการทำปฏิกิริยาพบว่า ความดันแก๊สไฮโดรเจนเริ่มต้นส่งผลต่อตัวเร่งปฏิกิริยา NiMo/ZrO2-Al2O3 2/3 โดยเมื่อความดันเพิ่มขึ้น ค่าการเปลี่ยนแปลงกวัยอะคอลและปริมาณฟีนอลมีแนวโน้มสูงขึ้น และสามารถยับยั้งเกิดการคาร์บอนบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาได้ สำหรับผลของระยะเวลาในการทำปฏิกิริยาพบว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาทุกตัวมีค่าการเปลี่ยนแปลงกวัยอะคอล ปริมาณฟีนอล และการเกิดโค้กบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นเมื่อระยะเวลาในการทำปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น เมื่อศึกษากัมมันตภาพของตัวเร่งปฏิกิริยา NiMo/ZrO2-Al2O3 2/3 ต่อไฮโดรดีออกซีจีเนชันของน้ำมันชีวภาพที่ได้จากการไพโรไลซิสของขี้เลื้อยและปริมาณคาร์บอนบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาพบว่า ตัวเร่งปฏิกิริยา NiMo/ZrO2-Al2O3 2/3 สามารถลดปริมาณออกซิเจนในน้ำมันชีวภาพจาก 55.9 เป็น 35.3% โดยน้ำหนัก จึงทำให้ค่าความร้อนของน้ำมันชีวภาพมีค่าสูงขึ้นจาก 13.5 เป็น 22.8 เมกะจูล/กิโลกรัม


รีดิวซ์กราฟีนออกไซด์/เลเยอร์ดับเบิลไฮดรอกไซด์คอมพอสิตเป็นตัวเก็บประจุยวดยิ่งฐานเซลล์เคมีไฟฟ้าเชิงแสง, ณัฐภพ เกษรเทียน Jan 2017

รีดิวซ์กราฟีนออกไซด์/เลเยอร์ดับเบิลไฮดรอกไซด์คอมพอสิตเป็นตัวเก็บประจุยวดยิ่งฐานเซลล์เคมีไฟฟ้าเชิงแสง, ณัฐภพ เกษรเทียน

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ตัวเก็บประจุยวดยิ่งเป็นอุปกรณ์กักเก็บพลังงานที่ปัจจุบันได้รับความนิยมเนื่องด้วย มีคุณสมบัติโดดเด่นหลายประการ เช่น การอัดประจุและคายประจุรวดเร็ว มีค่าความหนาแน่นของกำลังงานสูง มีความเสถียร และมีราคาถูกเมื่อเทียบกับแบตเตอรี่ทั่วไป โดยในงานวิจัยนี้ต้องการปรับปรุงค่าความหนาแน่นพลังงานของตัวเก็บประจุยวดยิ่ง โดยใช้รีดิวซ์กราฟีนออกไซด์/ นิกเกิล โคบอลต์ อะลูมิเนียม เลเยอร์ดับเบิลไฮดรอกไซด์เป็นวัสดุคอมพอสิตซึ่งสังเคราะห์ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มอล โดยรีดิวซ์กราฟีนออกไซด์และนิกเกิล โคบอลต์ อะลูมิเนียม เลเยอร์ดับเบิลไฮดรอกไซด์แผ่นระดับนาโนถูกรวมกันซึ่งทั้งสองวัสดุนี้เกิดเป็นโครงสร้างระดับชั้นซึ่งสามารถป้องกันการรวมกลุ่มกันเองและยังสามารถปรับปรุงสมบัติการนำไฟฟ้าของเลเยอร์ดับเบิล ไฮดรอกไซด์ที่มีการเติมรีดิวซ์กราฟีนลงไปด้วยเพราะว่าอิเล็กตรอนสามารถถ่ายโอนผ่านวัสดุ คอมพอสิตได้ดีและส่งเสริมการเกิดปฏิกิริยารีดอกซ์ในโครงสร้างคอมพอสิต โดยผลการทดลองทางเคมีไฟฟ้าโดยพบว่าค่าความจุไฟฟ้าจำเพาะสูงสุดของรีดิวซ์กราฟีนออกไซด์/นิกเกิล โคบอลต์ อะลูมิเนียม เลเยอร์ดับเบิลไฮดรอกไซด์เท่ากับ 1,050.4 ฟารัดต่อกรัม จากนั้นนำรีดิวซ์กราฟีนออกไซด์/นิกเกิล โคบอลต์ อะลูมิเนียมเลเยอร์ดับเบิลไฮดรอกไซด์ที่สังเคราะห์ได้ใช้เป็นขั้วไฟฟ้าในตัวเก็บประจุยวดยิ่งต่อร่วมกับเซลล์แสงอาทิตย์เชิงเคมีไฟฟ้าเพื่อกักเก็บพลังงานในรูปของ ความจุไฟฟ้าไฟฟ้าชั่วขณะโดยผลการทดลองเบื้องต้นแสดงให้เห็นว่าตัวเก็บประจุยวดยิ่งต่อร่วมเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสงนั้นสามารถจ่ายพลังงานไฟฟ้าจากการอัดประจุของเซลล์แสงอาทิตย์เป็นเวลา 60 วินาที สามารถเพิ่มความเสถียรของกำลังไฟฟ้าขาออกของเซลล์แสงอาทิตย์ได้ชั่วขณะเมื่อความเข้มแสงมีการเปลี่ยนแปลง


ปฏิกิริยาของกลีเซอรอลและเมทานอลภาวะเหนือวิกฤต: ผลของผลิตภัณฑ์​ต่อสมบัติของเชื้อเพลิงชีวภาพ, พงษ์ระวี แสงสุข Jan 2017

ปฏิกิริยาของกลีเซอรอลและเมทานอลภาวะเหนือวิกฤต: ผลของผลิตภัณฑ์​ต่อสมบัติของเชื้อเพลิงชีวภาพ, พงษ์ระวี แสงสุข

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความดันและอุณหภูมิ รวมทั้งขอบเขตของการเปลี่ยนวัฏภาคของของผสมระหว่างกลีเซอรอลและเมทานอลด้วยวิธีปริมาตรคงที่พบว่าสามารถแบ่งกราฟความสัมพันธ์ได้เป็น 3 วัฏภาคตามการเปลี่ยนแปลงของความชันได้แก่ วัฏภาคของเหลวผสมกับไอเมทานอล วัฏภาคของเหลวผสมกับไอผสมและวัฎภาคเอกพันธุ์โดยขอบเขตการเปลี่ยนวัฏภาคของของผสมจะขึ้นอยู่กับอัตราส่วนและความหนาแน่นรวมของ ของผสม จากนั้นศึกษาปฏิกิริยาระหว่างกลีเซอรอลและเมทานอลภาวะเหนือวิกฤตที่ความดันคงที่15 เมกะพาสคัล พบว่าที่อัตราส่วนโดยโมลของกลีเซอรอลต่อเมทานอล 1 ต่อ 3 และ 1 ต่อ 6การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิและเวลาจะส่งผลให้ร้อยละการเปลี่ยนของกลีเซอรอลเพิ่มขึ้น ในขณะที่ที่อัตราส่วนโดยโมลของกลีเซอรอลต่อเมทานอล 1 ต่อ 9 พบว่าร้อยละการเปลี่ยนกลีเซอรอลจะเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิที่เวลา 8 ถึง 10 นาทีและเริ่มคงที่เมื่อเวลามากกว่า 10 นาที พิจารณาการดุลมวลสารและการวิเคราะห์หาองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ด้วยเทคนิค GC-MS ทำให้สามารถ
สรุปได้ว่า กลีเซอรอลสามารถเกิดปฏิกิริยาอีเทอริฟิเคชันกับเมทานอลภาวะเหนือวิกฤต รวมทั้งปฏิกิริยาดีไฮเดรชันและปฏิกิริยาไฮโดรจิโนไลซิส ปฏิกิริยาไซคลิเซชันและการสลายตัวทางความร้อนที่อุณหภูมิสูงอีกด้วย จากการศึกษาผลของผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาระหว่างกลีเซอรอลและเมทานอลภาวะเหนือวิกฤตต่อสมบัติของเชื้อเพลิงชีวภาพ สามารถสรุปได้ว่าผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาดังกล่าวสามารถละลายในไบโอดีเซลได้ทำให้ช่วยเพิ่มร้อยละผลได้ของไบโอดีเซล นอกจากนี้ยังส่งผลดีต่อสมบัติของไบโอดีเซลได้อีกด้วย โดยสามารถลดความหนืด จุดเกิดหมอกและจุดไหลเทของไบโอดีเซลได้แต่ไม่ส่งผลเสียต่อค่าความร้อน จุดวาบไฟและจุดติดไฟของไบโอดีเซล


การผลิตแก๊สไฮโดรเจนและการบำบัดน้ำเสียโดยพร้อมกันจากน้ำเสียไบโอดีเซลโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสง, พิมพ์สุดา ภารสงัด Jan 2017

การผลิตแก๊สไฮโดรเจนและการบำบัดน้ำเสียโดยพร้อมกันจากน้ำเสียไบโอดีเซลโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสง, พิมพ์สุดา ภารสงัด

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ศึกษาการผลิตแก๊สไฮโดรเจนและการบำบัดน้ำเสียโดยพร้อมกันจากน้ำเสียไบโอดีเซลโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสง ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกเป็นการวิเคราะห์สมบัติของน้ำเสียไบโอดีเซลก่อนและหลังการปรับสภาพขั้นต้น พบว่าการปรับสภาพขั้นต้นทำให้น้ำเสียมีคุณภาพดีขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับน้ำเสียไบโอดีเซลก่อนปรับสภาพ ส่วนที่สองเป็นการศึกษาผลของอุณหภูมิต่อวัฏภาคและสมบัติของไทเทเนียมไดออกไซด์ โดยแคลไซด์ไทเทเนียมไดออกไซด์วัฏภาคผสมเชิงพาณิชย์ (TP25) ภายใต้ความดันบรรยากาศ ที่อุณหภูมิ 400 - 900 องศาเซลเซียส พบว่าไทเทเนียมไดออกไซด์เริ่มเกิดการเปลี่ยนแปลงจากวัฏภาคอนาเทสเป็นวัฏภาครูไทล์ที่อุณหภูมิมากกว่า 600 องศาเซลเซียส จากนั้นจะเปลี่ยนเป็นวัฏภาครูไทล์อย่างสมบูรณ์ที่อุณหภูมิมากกว่า 750 องศาเซลเซียส ตัวเร่งปฏิกิริยาทุกชนิดมีรูพรุนขนาดกลาง มีค่าช่องว่างพลังงาน 3.06 - 3.18 อิเล็กตรอนโวลต์และมีค่าความเป็นกรด - เบส ที่ประจุเป็นศูนย์ 6.1 - 6.8 และส่วนที่สามเป็นการศึกษาภาวะที่เหมาะสมกับกัมมันตภาพของตัวเร่งปฏิริยาต่อการผลิตแก๊สไฮโดรเจนและการบำบัดน้ำเสียโดยพร้อมกัน พบว่าภาวะที่เหมาะสมสำหรับการผลิตแก๊สไฮโดรเจนและการบำบัดน้ำเสียโดยพร้อมกัน คือการใช้ไทเทเนียมไดออกไซด์วัฏภาคผสมชนิด T400 ปริมาณ 4 กรัม/ลิตร โดยใช้สารละลายที่มีอัตราส่วนการเจือจางน้ำเสีย 3.3 เท่า ความเป็นกรด - เบสของสารละลาย 6 และค่าความเข้มแสง 4.76 มิลลิวัตต์/ตารางเซนติเมตร


วิธีการเปรียบเทียบพื้นที่ใต้โค้ง Roc สำหรับข้อมูลชุดเดียวกัน: กรณีศึกษาแบบจำลองคะแนนเครดิต, เบญจพร เอี่ยมประโคน Jan 2017

วิธีการเปรียบเทียบพื้นที่ใต้โค้ง Roc สำหรับข้อมูลชุดเดียวกัน: กรณีศึกษาแบบจำลองคะแนนเครดิต, เบญจพร เอี่ยมประโคน

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การเปรียบเทียบพื้นที่ใต้โค้ง ROC ระหว่างตัวแบบเต็มรูปกับตัวแบบลดรูปเป็นวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ซึ่งวิธีที่นิยมใช้ในการเปรียบเทียบ คือ วิธี Delong แต่วิธีนี้ควรนำมาใช้เมื่อผลต่างของพื้นที่ ROC มีการแจกแจงปกติ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหาวิธีเปรียบเทียบพื้นที่ใต้โค้ง ROC ระหว่างตัวแบบเต็มรูปกับตัวแบบลดรูปเมื่อผลต่างของพื้นที่ ROC ไม่มีการแจกแจงแบบปกติ โดยทำการแปลงข้อมูลผลต่างพื้นที่ใต้โค้ง ROC ระหว่างตัวแบบเต็มรูปและตัวแบบลดรูปให้มีการแจกแจงปกติแล้วนำไปทดสอบผลต่างด้วย Z-test (วิธี Transform) นอกจากนี้ผู้วิจัยยังได้เปรียบเทียบประสิทธิภาพของการเปรียบเทียบพื้นที่ใต้โค้ง ROC ระหว่างวิธี Transform และวิธี Delong test โดยทำการจำลองข้อมูลจาก German credit ใน package caret ในโปรแกรม R เพื่อนำมาสร้างตัวแบบโลจิสติกสำหรับการเปรียบเทียบพื้นที่ใต้โค้งของทั้ง 2 วิธี และนำผลของทั้ง 2 วิธีในแต่ละขนาดตัวอย่างมาหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กับผลการวิเคราะห์จากวิธี Likelihood ratio test (LRT) ซึ่งเป็นอีกวิธีที่ใช้เปรียบเทียบตัวแบบโลจิสติก อนึ่งวิธี LRT นี้ไม่สามารถใช้เปรียบเทียบตัวแบบทางสถิติบางตัวแบบ เช่น Support Vector Machine แต่สามารถทำการเปรียบเทียบตัวแบบได้โดยการเปรียบเทียบพื้นที่ใต้โค้ง ROC ดังนั้นการเปรียบเทียบพื้นที่ใต้โค้ง ROC จึงเป็นวิธีหนึ่งในการช่วยเลือกตัวแบบที่เหมาะสม ผลการวิจัยพบว่า ที่ขนาดตัวอย่าง 300 500 และ 1000 วิธีการเปรียบเทียบพื้นที่ใต้โค้ง ROC โดยวิธีการแปลงข้อมูลผลต่างพื้นที่ใต้โค้ง ROC (วิธี Transform) มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ p-value ที่สอดคล้องกับวิธี LRT มากกว่าวิธี Delong อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 นอกจากนั้นพบว่า ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ p-value มีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05


การใช้พารามิเตอร์ที่สร้างจากภาคตัดกรวยในการจำแนกเลขที่บ้านจากกูเกิลสตรีตวิวด้วยวิธีซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน, พงศ์ศรัณย์ เทียมตะวัน Jan 2017

การใช้พารามิเตอร์ที่สร้างจากภาคตัดกรวยในการจำแนกเลขที่บ้านจากกูเกิลสตรีตวิวด้วยวิธีซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน, พงศ์ศรัณย์ เทียมตะวัน

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การรู้จำตัวเลขเป็นปัญหาสำคัญหนึ่งในสาขาคอมพิวเตอร์วิทัศน์และการรู้จำแบบ งานวิจัยนี้ทำการจำแนกตัวเลขจากฐานข้อมูลเลขที่บ้านจากกูเกิล สตรีตวิว ซึ่งมีความสำคัญต่อการปรับปรุงความถูกต้องของแผนที่และระบบนำทางในปัจจุบัน (Netzer และคณะ, 2012) โดยใช้พารามิเตอร์ที่ได้จากลักษณะเชิงเรขาคณิตวิเคราะห์ของตัวเลขในการสร้างตัวแบบ และใช้ซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีนในการจำแนกตัวเลข โดยเปรียบเทียบผลลัพธ์การจำแนกตัวเลขระหว่าง 4 เคอร์เนล ได้แก่ เคอร์เนลเชิงเส้น, เคอร์เนลพหุนาม, เคอร์เนลเรเดียล และเคอร์เนลซิกมอยด์ รวมถึงเปรียบเทียบความสำคัญของแต่ละลักษณะว่ามีผลต่อการจำแนกตัวเลขอย่างไร หลังจากเตรียมข้อมูลรูปภาพก่อนการสร้างตัวแบบ ในการดึงลักษณะจะใช้การแปลงฮัฟ (Hough transform) ในการค้นหารูปร่างภาคตัดกรวยที่พบในรูปขอบของตัวเลข 4 รูปแบบ ได้แก่ เส้นตรง, วงรี, พาราโบลาแนวตั้ง และพาราโบลาแนวนอน พบว่า เคอร์เนลเรเดียลให้ผลลัพธ์การจำแนกตัวเลขดีที่สุด คือ 72.17% และใช้เวลาในการสร้างตัวแบบ 22.36 นาที ลักษณะที่เกี่ยวข้องกับเส้นตรงมีความสำคัญต่อการจำแนกตัวเลขมากที่สุด รองลงมาคือ วงรี พาราโบลาแนวนอน และพาราโบลาแนวตั้ง ตามลำดับ


การเปรียบเทียบตัวแบบอนุกรมเวลาแบบผสมสำหรับการพยากรณ์ข้อมูลอนุกรมเวลาที่มีปัจจัยเชิงฤดูกาล, อนุธิดา อนันต์ทรัพย์สุข Jan 2017

การเปรียบเทียบตัวแบบอนุกรมเวลาแบบผสมสำหรับการพยากรณ์ข้อมูลอนุกรมเวลาที่มีปัจจัยเชิงฤดูกาล, อนุธิดา อนันต์ทรัพย์สุข

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบความแม่นยำของค่าพยากรณ์ที่ได้จาก 3 ตัวแบบ คือ ตัวแบบ ARIMA ที่มีฤดูกาล(SARIMA), ตัวแบบผสมระหว่างตัวแบบ ARIMA ที่มีฤดูกาลกับตัวแบบโครงข่ายประสาทเทียม(SARIMA-ANN) และตัวแบบผสมระหว่างตัวแบบ ARIMA ที่มีฤดูกาลกับตัวแบบซัพพอร์ทเวกเตอร์แมชชีน(SARIMA-SVM) โดยทำการศึกษาเปรียบเทียบทั้งในส่วนของข้อมูลจริงและข้อมูลจำลอง ในส่วนของข้อมูลจริงนั้นได้มีการนำราคาขายปลีกมะนาวเบอร์ 1-2 (หน่วยเป็นบาท/ผล) จากกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ซึ่งเป็นราคาผลผลิตทางการเกษตรซึ่งอยู่ในรูปแบบอนุกรมเวลาที่มีปัจจัยเชิงฤดูกาลมาทำการเปรียบเทียบ โดยใช้เกณฑ์รากของค่าคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ย(Root Mean Square Error : RMSE) เป็นเกณฑ์ในการเปรียบเทียบตัวแบบ ผลการศึกษาพบว่าตัวแบบผสมระหว่างตัวแบบ SARIMA กับตัวแบบโครงข่ายประสาทเทียม(SARIMA-ANN) และตัวแบบผสมระหว่างตัวแบบ SARIMA กับตัวแบบซัพพอร์ทเวกเตอร์แมชชีน(SARIMA-SVM) ให้ผลการพยากรณ์ที่แม่นยำกว่าตัวแบบ SARIMA ทั้งในชุดข้อมูลจริง และชุดข้อมูลจำลอง และสำหรับการพยากรณ์ด้วยชุดข้อมูลจริงราคาขายปลีกมะนาวที่มีลักษณะอนุกรมเวลาที่มีปัจจัยเชิงฤดูกาลสอดคล้องกับตัวแบบ ARIMA(1,1,2)x(0,1,1)12 ตัวแบบผสมระหว่าง ARIMA(1,1,2)x(0,1,1)12 กับตัวแบบโครงข่ายประสาทเทียมให้ค่าพยากรณ์ที่แม่นยำที่สุด รองลงมาคือตัวแบบผสมระหว่าง ARIMA(1,1,2)x(0,1,1)12 กับตัวแบบซัพพอร์ทเวกเตอร์แมชชีน และตัวแบบ ARIMA(1,1,2)x(0,1,1)12 มีความแม่นยำในการพยากรณ์ต่ำที่สุด ซึ่งให้ผลสอดคล้องกับผลการพยากรณ์ด้วยชุดข้อมูลจำลอง


การพัฒนาตัวบ่งชี้ผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21, อัศวิน เสนีชัย Jan 2017

การพัฒนาตัวบ่งชี้ผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21, อัศวิน เสนีชัย

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้ผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลการวัดผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่สร้างและพัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) เพื่อตรวจสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลการวัดความเป็นผู้บริหารสถานศึกษาในเขตและนอกเขตกรุงเทพมหานคร 4) เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาในการเป็นผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้คือผู้บริหารสถานศึกษาจากทั่วประเทศจำนวน 783 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติบรรยาย ด้วยโปรแกรม SPSS และ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสองด้วยโปรแกรม Lisrel ผลการวิจัยสรุปได้ด้งนี้ 1. โมเดลการวัดผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก 13 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) องค์ประกอบภาวะผู้นำใหม่ ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ คือ มีพลังความคิด พลังขับเคลื่อน การสร้างสรรค์และผลิตภาพ และบทบาทเชิงรุกในสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน 2) องค์ประกอบการบริหารเชิงกลยุทธ์ ประกอบด้วย 4 ตัวบ่งชี้ คือ ผลการปฏิบัติงานที่โดดเด่น การสร้างทางเลือกเชิงกลยุทธ์ การตัดสินใจภายใต้สภาวการณ์ที่ผันผวน และ การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ 3) องค์ประกอบการบริหารเชิงวิชาการ ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ คือ การสร้างครูต้นแบบ การสร้างนวัตกรรมและการวิจัย และการพัฒนาสารสนเทศทางการเรียนรู้ 4) องค์ประกอบคุณธรรมจริยธรรม ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ คือ ความเมตตากรุณา ความยุติธรรม และความซื่อสัตย์สุจริต 2. โมเดลการวัดผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ( ꭓ² =32.99 , df =26 , p= .16 , และ RMSEA = 0.02) 3. โมเดลการวัดผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 มีความไม่แปรเปลี่ยนของรูปแบบโมเดล ( ꭓ² = 66.49, df = …


การสร้างเครือข่ายแอดฮอกแบบเสมือนโดยใช้วายฟายฮอตสปอตบนสมาร์ทโฟน, ฉันทวัฒน์ รัตนพงศ์พันธ์ Jan 2017

การสร้างเครือข่ายแอดฮอกแบบเสมือนโดยใช้วายฟายฮอตสปอตบนสมาร์ทโฟน, ฉันทวัฒน์ รัตนพงศ์พันธ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ทุกวันนี้สมาร์ทโฟนได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ด้วยจำนวนและเซนเซอร์ที่มากขึ้นของสมาร์ทโฟนส่งผลให้มีแอพลิเคชั่นที่ถูกพัฒนามาเพื่อต้องสนองความต้องการของผู้ใช้งานมากขึ้น โดยปกติสมาร์ทโฟนจะพึ่งพาโครงสร้างพื้นฐานในการติดต่อสื่อสาร อย่างไรก็ตามเมื่อโครงสร้างพื้นฐานไม่สามารถใช้งานได้ในสถานการณ์ภัยพิบัติ การติดต่อสื่อสารก็ไม่สามารถทำได้เช่นกัน สถานการณ์นี้สามารถบรรเทาได้ด้วยการใช้เครือข่ายแบบฉวยโอกาส โดยสมาร์ทโฟนจะทำการติดต่อสื่อสารกันโดยตรงเมื่อใช้เครือข่ายแบบฉวยโอกาส อย่างไรก็ตามการติดต่อสื่อสารกันโดยตรงแบบอัตโนมัติเป็นส่วนที่สำคัญอย่างยิ่งสำหรับแอพลิเคชั่นจำนวนมากในเครือข่ายแบบฉวยโอกาส ซึ่งในสมาร์ทโฟนมีเทคโนโลยีมากมายที่สามารถทำการสร้างเครือขายแบบฉวยโอกาสได้ นักวิจัยบางส่วนได้ใช้เทคโนโลยีวายฟายแอดฮอกในการสร้างเครือข่ายแบบฉวยโอกาสเนื่องจากเทคโนโลยีวายฟายแอดฮอกมีลักษณะที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการติดต่อกันแบบอัตโนมัติของสมาร์ทโฟนและการทำให้แนวคิดของเครือข่ายฉาบฉวยเป็นจริง อย่างไรก็ตามสมาร์ทโฟนเกือบทั้งหมดในตลาดไม่สามารถใช้งานวายฟายแอดฮอกนอกจากจะทำการรูทเครื่อง ซึ่งในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยได้ใช้เทคโนโลยีวายฟายฮอตสปอตในการสร้างเครือข่ายแอดฮอกแบบเสมือน ผู้วิจัยทำการเสนอกลไกในการลดจำนวนฮอตสปอตที่มากเกินจำเป็นและยืดระยะการทำงานของระบบ ผลจากการทดลองแสดงให้เห็นว่างานวิจัยของผู้วิจัยสามารถลดการใช้พลังงานได้ถึง 62% เมื่อเทียบกับอัลกอริทึมการเปลี่ยนสถานะเป็นฮอตสปอตแบบคงที่ที่ถูกเสนอในงานวิจัยที่ผ่านมา


โพรโทคอลการแพร่กระจายข้อมูลโดยคำนึงถึงตำแหน่งที่มีความน่าเชื่อถือในระบบการสื่อสารไร้สายแบบแอดฮอกบนยานพาหนะ, ณัฐกานต์ ประมวลญาติ Jan 2017

โพรโทคอลการแพร่กระจายข้อมูลโดยคำนึงถึงตำแหน่งที่มีความน่าเชื่อถือในระบบการสื่อสารไร้สายแบบแอดฮอกบนยานพาหนะ, ณัฐกานต์ ประมวลญาติ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ระบบการขนส่งอัจฉริยะได้เพิ่มความหลากหลายให้กับแอปพลิเคชันประเภทความปลอดภัยและเหตุการณ์เร่งด่วนบนท้องถนนที่ใช้หลักการติดต่อแบบแอดฮอกไร้สาย แอปพลิเคชันเหล่านี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อที่จะกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว มีความน่าเชื่อถือและจำกัดขอบเขตการเข้าถึงข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่สำคัญเหล่านั้นเข้าถึงได้ถึงยานพาหนะที่สมควรจะได้รับ ดังนั้นแล้วงานต่างๆก่อนหน้านี้ที่ทำ จึงมีการใช้ระบบจีพีเอสในการระบุตำแหน่งและกำหนดขอบเขต ในทางปฏิบัติแล้วการใช้ระบบจีพีเอสนั้น มักจะมีความคลาดเคลื่อนในตำแหน่งที่เป็นพื้นที่ปิด เช่น ท่ามกลางตึกสูงล้อมรอบ หรือแม้แต่พื้นที่ใต้สะพานต่างๆ เพื่อที่จะเข้าใจและเข้าถึงสถานะการณ์ต่างๆ ในการเลือกที่จะส่งข้อมูล แอปพลิเคชันที่เราทำนั้นจะทำการส่งบีคอนในการรวบรวมข้อมูลของยานพาหนะรอบข้าง เพื่อที่จะใช้ในการจำกัดขอบเขตวงกว้างในการส่งข้อมูล แอปพลิเคชันที่ทำขึ้นนั้นจะใช้ข้อมูลความหนาแน่นเพื่อใช้ในการกำหนดจำนวนฮอพสูงสุดที่จะทำการส่งต่อข้อมูลหรือข้อความให้ได้ตามระยะขอบเขตที่กำหนด จากการทดสอบบนระบบการจำลองแสดงให้เห็นว่าโพรโทคอลของเราสามารถที่จะทำงานได้ดีกว่าโพรโทคอลอื่นๆที่ใช้จีพีเอสในแง่ของการครอบคลุมพื้นที่ที่กำหนด โดยแสดงให้เห็นว่าโพรโทคอลของเราสามารถส่งข้อความให้กับยานพาหนะที่อยู่ในขอบเขตที่กำหนดได้ 100%