Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Physical Sciences and Mathematics Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Chulalongkorn University

Discipline
Keyword
Publication Year
Publication
Publication Type

Articles 511 - 540 of 2268

Full-Text Articles in Physical Sciences and Mathematics

บทความ: "แหนแดง"....แหล่งไนโตรเจนในแปลงผัก, ภาษิตา ทุ่นศิริ, ศิริรัตน์ แจ้งกรณ์, กานดา ปุ่มสิน, ฉันทนา เคนศรี, พันธ์ทิวา กระจาย Oct 2020

บทความ: "แหนแดง"....แหล่งไนโตรเจนในแปลงผัก, ภาษิตา ทุ่นศิริ, ศิริรัตน์ แจ้งกรณ์, กานดา ปุ่มสิน, ฉันทนา เคนศรี, พันธ์ทิวา กระจาย

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: การกำจัดสารหนูปนเปื้อนในกากโลหกรรมจากการทำเหมืองแร่ด้วยพืชพลังงานและจลนศาสตร์ไฟฟ้าอย่างยั่งยืน, อุดมศักดิ์ บุญมีรติ, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช Oct 2020

บทความ: การกำจัดสารหนูปนเปื้อนในกากโลหกรรมจากการทำเหมืองแร่ด้วยพืชพลังงานและจลนศาสตร์ไฟฟ้าอย่างยั่งยืน, อุดมศักดิ์ บุญมีรติ, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: เทคโนโลยีควบคุมมลพิษอากาศที่เกิดจากเตาเผาอิฐมอญเชื้อเพลิงชีวมวลแบบถมทรายหลังเตา, อุกฤต สมัครสมาน, สุกฤษฏิ์พงษ์ ไชยมงคล, คณิต มานะธุระ Oct 2020

บทความ: เทคโนโลยีควบคุมมลพิษอากาศที่เกิดจากเตาเผาอิฐมอญเชื้อเพลิงชีวมวลแบบถมทรายหลังเตา, อุกฤต สมัครสมาน, สุกฤษฏิ์พงษ์ ไชยมงคล, คณิต มานะธุระ

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: "วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของพื้นที่การบริการลูกค้า"กรณีศึกษาสถานประกอบการธุรกิจโรงแรม จังหวัดภูเก็ต, เดชา สีดูกา Oct 2020

บทความ: "วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของพื้นที่การบริการลูกค้า"กรณีศึกษาสถานประกอบการธุรกิจโรงแรม จังหวัดภูเก็ต, เดชา สีดูกา

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: การจัดการและการแปรรูป น้ำมันใช้แล้ว ในภาคครัวเรือน, ปิโยรส ทิพย์มงคล, ณัฐพงศ์ ตันติวิวัฒนพันธ์ Oct 2020

บทความ: การจัดการและการแปรรูป น้ำมันใช้แล้ว ในภาคครัวเรือน, ปิโยรส ทิพย์มงคล, ณัฐพงศ์ ตันติวิวัฒนพันธ์

Thai Environment

No abstract provided.


เรื่องจากปก: พืชพลังงาน…ทางเลือกใหม่สำหรับการฟื้นฟูสภาพพื้นที่การทำเหมือง, อุดมศักดิ์ บุญมีรติ Jul 2020

เรื่องจากปก: พืชพลังงาน…ทางเลือกใหม่สำหรับการฟื้นฟูสภาพพื้นที่การทำเหมือง, อุดมศักดิ์ บุญมีรติ

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: การศึกษาประสิทธิภาพการลดฝุ่นโดยป่านิเวศ, ศิรพงศ์ สุขทวี, อดุลย์ เดชปัดภัย, สุธีระ บุญญาพิทักษ์, นิรัน เปี่ยมใย, หทัยรัตน์ การีเวทย์, อนงค์ ชานะมูล Jul 2020

บทความ: การศึกษาประสิทธิภาพการลดฝุ่นโดยป่านิเวศ, ศิรพงศ์ สุขทวี, อดุลย์ เดชปัดภัย, สุธีระ บุญญาพิทักษ์, นิรัน เปี่ยมใย, หทัยรัตน์ การีเวทย์, อนงค์ ชานะมูล

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: "น้ำเหมืองเป็นกรด"…ผักตบชวาช่วยได้...ทางเลือกสู่ผลิตภัณฑ์ชุมชน, วัณณิภา ก้วยเจริญพานิชก์, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช Jul 2020

บทความ: "น้ำเหมืองเป็นกรด"…ผักตบชวาช่วยได้...ทางเลือกสู่ผลิตภัณฑ์ชุมชน, วัณณิภา ก้วยเจริญพานิชก์, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: การประเมินประสิทธิภาพของวัสดุทำหน้ากากสำหรับกรองฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (Evaluation Of Face Mask Materials For Trapping Particulate Matter Less Than 2.5 Micron), มณีรัตน์ องค์วรรณดี, พงศธร ชมดี Jul 2020

บทความ: การประเมินประสิทธิภาพของวัสดุทำหน้ากากสำหรับกรองฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (Evaluation Of Face Mask Materials For Trapping Particulate Matter Less Than 2.5 Micron), มณีรัตน์ องค์วรรณดี, พงศธร ชมดี

Thai Environment

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดประสิทธิภาพของวัสดุที่ทำหน้ากากในการกรองฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอนในบรรยากาศ โดยจำลองการสวมหน้ากากกับใบหน้าของหุ่นฝึกทางการแพทย์ให้แนบสนิท ใช้เครื่องดูดเสมหะดูดอากาศด้วยอัตรา 15 ลิตรต่อนาทีผ่านหน้ากากที่ทดสอบ ได้แก่ หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ หน้ากาก N95 และหน้ากากผ้าฝ้ายสองชั้นเสริมไส้กรองต่างๆ ผลการทดสอบพบว่าหน้ากาก N95 ที่จำหน่ายในประเทศไทยมีประสิทธิภาพการกรอง 78 เปอร์เซ็นต์ ตามมาด้วยหน้ากากอนามัยทางการแพทย์มีประสิทธิภาพ 65 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งใกล้เคียงกับหน้ากากผ้าที่ใช้หน้ากากอนามัยดังกล่าวเป็นไส้กรองหรือใช้แผ่นกรองฝุ่นระดับ MERV 11 จำนวน 3 แผ่นซ้อนกัน ในขณะที่การใช้หน้ากากผ้าฝ้ายเพียงอย่างเดียวมีประสิทธิภาพเพียง 6 เปอร์เซ็นต์ และการใช้กระดาษทิชชูเป็นไส้กรองไม่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพได้ ทั้งนี้ประสิทธิภาพการกรองฝุ่นละอองของหน้ากากเมื่อสวมใส่จริงอาจมีค่าต่ำกว่าที่วัดได้ซึ่งขึ้นกับความแนบสนิทกับใบหน้าของผู้ใส่ สำหรับการฆ่าเชื้อโรคบนหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ด้วยการพ่นเอทานอล 70 เปอร์เซ็นต์ไม่ได้ทำให้โครงสร้างทางกายภาพและเคมีของเส้นใยโพลีโพรพิลีนของหน้ากากแปลงเปลี่ยนไปจากเดิม จึงอาจเป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับยืดอายุการใช้งานหน้ากากอนามัยในช่วงขาดแคลน เช่น การระบาดของโรคโควิด-19


บทความ: เรียนรู้ประสบการณ์การจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ในประเทศเยอรมนี "ระบบความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นของผู้ผลิต (Epr) และระบบมัดจำคืนเงิน (Drs)", สุจิตรา วาสนาดำรงดี Jul 2020

บทความ: เรียนรู้ประสบการณ์การจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ในประเทศเยอรมนี "ระบบความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นของผู้ผลิต (Epr) และระบบมัดจำคืนเงิน (Drs)", สุจิตรา วาสนาดำรงดี

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: Cu Zero Waste กรณีศึกษา "การจัดการขยะโรงอาหารของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย", นุตา ศุภคต, กัลยา สุนทรวงศ์สกุล Jul 2020

บทความ: Cu Zero Waste กรณีศึกษา "การจัดการขยะโรงอาหารของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย", นุตา ศุภคต, กัลยา สุนทรวงศ์สกุล

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: "เฮมพ์"…พืชฟื้นฟูดินปนเปื้อนสารพิษสู่นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ชุมชน…ยุค Thailand 4.0, อชิรญาณ์ คเณศรักษพงษ์, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช Jul 2020

บทความ: "เฮมพ์"…พืชฟื้นฟูดินปนเปื้อนสารพิษสู่นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ชุมชน…ยุค Thailand 4.0, อชิรญาณ์ คเณศรักษพงษ์, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช

Thai Environment

No abstract provided.


เรื่องจากปก: "เขื่อนอุบลรัตน์" ภัยแล้งที่เริ่มคืบคลาน, จักรภพ พันธศรี Apr 2020

เรื่องจากปก: "เขื่อนอุบลรัตน์" ภัยแล้งที่เริ่มคืบคลาน, จักรภพ พันธศรี

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: การรับรู้ข่าวสารและทัศนคติที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ถุงพลาสติกของประชากรในจังหวัดสงขลา, นาดียา กูโน, ภัทรพร อุดมทรัพย์, วรางคณา ตันฑสันติสกุล Apr 2020

บทความ: การรับรู้ข่าวสารและทัศนคติที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ถุงพลาสติกของประชากรในจังหวัดสงขลา, นาดียา กูโน, ภัทรพร อุดมทรัพย์, วรางคณา ตันฑสันติสกุล

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: การพัฒนารูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสวนพยอม สาขาโรงพยาบาลร้อยเอ็ด The Development Of Waste Management Model Of Suanphayom Hospital, Roi - Et Hospital., กาญจนา โทหา Apr 2020

บทความ: การพัฒนารูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสวนพยอม สาขาโรงพยาบาลร้อยเอ็ด The Development Of Waste Management Model Of Suanphayom Hospital, Roi - Et Hospital., กาญจนา โทหา

Thai Environment

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาขยะมูลฝอย วิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย และการพัฒนารูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสวนพยอม สาขาโรงพยาบาลร้อยเอ็ด โดยใช้วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ได้แก่ เจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสวนพยอม เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไป ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมเกี่ยวกับการจัดการและการคัดแยกขยะมูลฝอย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้ ไควสแควร์ (Chi-Square) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 88.0 และระดับปานกลาง ร้อยละ 8.0 ทัศนคติเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยอยู่ในระดับสูง ระดับปานกลาง ร้อยละ 94.0, 6.0 ตามลำดับ พฤติกรรมในการปฏิบัติตัวในเรื่องการกำจัดการขยะมูลฝอย อยู่ในระดับปานกลาง ระดับสูง ร้อยละ 76.0, 24.0 ตามลำดับ จากการรวบรวมข้อมูลในแบบสอบถามพบว่า อายุ เพศ สถานะภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ ตำแหน่ง รายได้ ความรู้ ทัศนคติ ไม่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการปฏิบัติตนในเรื่องการกำจัดขยะมูลฝอย ส่วนการพัฒนารูปแบบการจัดการขยะมูลฝอย มีขั้นตอน ดังนี้ 1) ศึกษาบริบท สภาพปัญหา พบว่า ประสบปัญหาเกี่ยวกับการจัดการขยะที่ยังไม่เป็นระบบ 2) ศึกษารูปแบบการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยมูลฝอยตามแนวประชารัฐ เช่น การเสริมสร้างสมรรถนะในการจัดการขยะโดยการอบรมให้ความรู้แก่บุคลากร รณรงค์สร้างจิตสำนึกตามแนวคิด 3Rs - ประชารัฐ โดยการลดปริมาณขยะ (Reduce) การใช้ซ้ำ (Reuse) และการนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) พัฒนาศักยภาพบุคลากรโดยส่งเสริมการเลี้ยงไส้เดือน ทำน้ำหมักชีวภาพ ส่งผลทำให้ปริมาณขยะหลังการดำเนินการลดลง ร้อยละ 20.35


บทความ: "ถ่านชีวภาพ (Biochar)" วัสดุปรับปรุงดินเพื่อส่งเสริมการปลูกข้าวในพื้นที่ดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย, บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม Apr 2020

บทความ: "ถ่านชีวภาพ (Biochar)" วัสดุปรับปรุงดินเพื่อส่งเสริมการปลูกข้าวในพื้นที่ดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย, บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: "ปรอทและจุลินทรีย์" บทบาทของจุลินทรีย์ในการขับเคลื่อนวัฏจักรทางชีวธรณีเคมีของปรอทในสิ่งแวดล้อม, ปกฉัตร ชูติวิศุทธิ์ Apr 2020

บทความ: "ปรอทและจุลินทรีย์" บทบาทของจุลินทรีย์ในการขับเคลื่อนวัฏจักรทางชีวธรณีเคมีของปรอทในสิ่งแวดล้อม, ปกฉัตร ชูติวิศุทธิ์

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: "หลักการความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นของผู้ผลิต (Extended Producer Responsibility)" เครื่องมือในการจัดการขยะและส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน, สุจิตรา วาสนาดำรงดี Apr 2020

บทความ: "หลักการความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นของผู้ผลิต (Extended Producer Responsibility)" เครื่องมือในการจัดการขยะและส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน, สุจิตรา วาสนาดำรงดี

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: การประเมินโครงการลดและงดการใช้โฟมและถุงพลาสติกในอำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต (Evaluation Of Katu Municipality Campaign To Stop Using Foam And Plastic Bags, Phuket Province), เพ็ญศิริ เอกจิตต์, ฮุสนา โรมินทร์ Apr 2020

บทความ: การประเมินโครงการลดและงดการใช้โฟมและถุงพลาสติกในอำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต (Evaluation Of Katu Municipality Campaign To Stop Using Foam And Plastic Bags, Phuket Province), เพ็ญศิริ เอกจิตต์, ฮุสนา โรมินทร์

Thai Environment

No abstract provided.


Fluorescence Sensors From Pyreno[4,5-D]Imidazole Derivatives, Nichapa Chanawungmuang Jan 2020

Fluorescence Sensors From Pyreno[4,5-D]Imidazole Derivatives, Nichapa Chanawungmuang

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Herein, The five fluorescent probes (P1, P2, P3, P4 and P5) based on pyreno[4,5-d]imidazole were successfully prepared in two steps from pyrene in 26 – 40% overall yields. After that, all of the compounds were studied the photophysical properties and selectivity for sensing metal ions. The results showed compound P5 was not selective to metal ions while the others (P1, P2, P3 and P4) were selective to detection of trivalent metal ions such as Bi3+, Al3+, Cr3+ and Fe3+ in CH3CN. However, only compound P2 with 2-hydroxyl phenyl substituent on imidazole ring formed complexation reaction selectively towards bismuth (III) ions …


Stratigraphy And Geochemistry Of Rock Salt From Maha Sarakham Formation In Changwat Chaiyaphum, Northeastern Thailand, Pranot Rattana Jan 2020

Stratigraphy And Geochemistry Of Rock Salt From Maha Sarakham Formation In Changwat Chaiyaphum, Northeastern Thailand, Pranot Rattana

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Maha Sarakham Formation is one of massive potash deposits in the Khorat Plateau extending from northeastern of Thailand to central of Lao PDR. Maha Sarakham Formation consists of three rock salt members (the lower, middle and upper members) interbedded with claystone. Potash minerals are associated with the thick bed of rock salt in the upper part of lower salt member. Previous studies are still under discussion on whether the origin of rock salt from marine or non-marine (hydrothermal origin and mixed fluids) deposit. The purpose of this study is to analyze the origin of rock salt based on elemental compositions …


กระบวนการพัฒนาโปรแกรมตัวส่งระหว่างโมเดลเชิงวัตถุและเชิงสัมพันธ์ด้วยเทคนิคโลวโค้ดบนโอดู, โสภณวิชญ์ พิชิตเธียรธรรม Jan 2020

กระบวนการพัฒนาโปรแกรมตัวส่งระหว่างโมเดลเชิงวัตถุและเชิงสัมพันธ์ด้วยเทคนิคโลวโค้ดบนโอดู, โสภณวิชญ์ พิชิตเธียรธรรม

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้นำเสนอมอดูลเจนเนอเรเตอร์ ซึ่งเป็นเครื่องมือสำหรับการเขียนโปรแกรมตัวส่งระหว่างโมเดลเชิงวัตถุและเชิงสัมพันธ์บนโอดู โอดูเป็นซอฟต์แวร์อีอาร์พีแบบเปิดเผยรหัสต้นฉบับที่รวบรวมมอดูลที่จำเป็นสำหรับการจัดการธุรกิจต่าง ๆ และผู้พัฒนาสามารถพัฒนามอดูลเพื่อขยายขีดความสามารถของโอดูได้ โดยในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาการพัฒนาซอฟต์แวร์บนโอดู มักต้องใช้เวลาในการเรียนรู้เพราะมีความซับซ้อนของเฟรมเวิร์ก จึงมีการนำแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบโลวโค้ด (การเขียนโค้ดที่น้อยกว่าปกติ) มาใช้ในการพัฒนามอดูลเจนเนอเรเตอร์ขึ้น เพื่อให้เป็นเครื่องมือสำหรับออกแบบและสร้างรหัสต้นฉบับสำหรับมอดูล ทำให้ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์บนโอดูไม่ต้องกังวลเรื่องข้อผิดพลาดอันเนื่องมาจากความซับซ้อนของเฟรมเวิร์ก และให้ความสำคัญกับการเขียนโปรแกรมในด้านอื่น ๆ ได้มากขึ้น โดยเครื่องมือนี้ถูกพัฒนาด้วยภาษา ไพธอนให้เป็นเว็บแอปพลิเคชันทำงานบนเว็บเบราว์เซอร์ และได้มีการทดสอบการใช้งานกับทั้งผู้พัฒนามอดูลบนโอดู ผู้ใช้งานโอดูที่มีทักษะการเขียนโปรแกรม ผู้ที่ไม่เคยมีประสบการณ์กับโอดู และอาสาสมัครภายนอกบริษัท ซึ่งได้ผลลัพธ์ว่า ผู้ทดสอบทั้งหมดสามารถพัฒนามอดูลโดยใช้มอดูลเจนเนอเรเตอร์ได้สำเร็จ เครื่องมือนี้จึงสามารถช่วยให้ผู้ที่ไม่มีประสบการณ์ในการพัฒนามอดูลบนโอดูสามารถพัฒนามอดูลขึ้นมาได้โดยใช้เวลาไม่นาน และเมื่อเปรียบเทียบเวลาที่ใช้ในการพัฒนามอดูลของกลุ่มผู้พัฒนามอดูลบนโอดู ระหว่างแบบปกติที่เขียนโค้ดด้วยตนเองกับการใช้ มอดูลเจนเนอเรเตอร์ พบว่าการใช้เครื่องมือนี้สามารถลดเวลาการพัฒนามอดูลโดยเฉลี่ยได้ถึง 20% อีกทั้งมอดูลเจนเนอเรเตอร์ยังนำไปใช้ได้จริงในโครงการการพัฒนาซอฟต์แวร์ของบริษัท


การวิเคราะห์การเกิดตำหนิในการผลิตกระจกโฟลต, คณุตม์ ไพบูลย์ Jan 2020

การวิเคราะห์การเกิดตำหนิในการผลิตกระจกโฟลต, คณุตม์ ไพบูลย์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดตำหนิและหาแนวทางปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อลดปริมาณตำหนิชนิดฟองอากาศและรีม ด้วยการนำตัวแปรจากกระบวนการผลิตได้แก่ การชั่งน้ำหนักส่วนผสม อุณหภูมิในการหลอม อุณหภูมิในการขึ้นรูปและองค์ประกอบทางเคมีของกระจก มาหาความสัมพันธ์กับปริมาณตำหนิที่เกิดขึ้นด้วยการวิเคราะห์การถดถอย จากผลการวิเคราะห์ตำหนิฟองอากาศด้วยเทคนิคแมสสเปกโทรเมตรีและเทคนิครามานสเปคโทรสโคปีพบว่าฟองอากาศส่วนใหญ่พบแก๊ส CO2 เป็นองค์ประกอบอยู่ที่ 30 ถึง 70 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเกิดจากการสลายตัวทางความร้อนของวัตถุดิบและการไล่ฟองอากาศที่ไม่สมบูรณ์ และจากความสัมพันธ์ของปริมาณฟองอากาศและตัวแปรจากกระบวนการผลิตพบว่า อุณหภูมิการหลอมที่สูงขึ้น ปริมาณ fining agent ที่น้อยลง และกำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้ตำหนิชนิดฟองอากาศเพิ่มขึ้น จากการศึกษาตำหนิชนิดรีมโดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดร่วมกับการวัดการกระจายพลังงานของรังสีเอกซ์ในการวิเคราะห์องค์ประกอบธาตุของตำหนิชนิดรีมเทียบกับบริเวณโดยรอบโดยพบว่ารีมมีปริมาณธาตุ Si และ Na สูงกว่าบริเวณโดยรอบ ซึ่งเกิดจากการชั่งวัตถุดิบที่คลาดเคลื่อนไปจากสูตรการผลิต โดยเกิดจากวัตถุดิบติดค้างบริเวณกรวยรับวัตถุดิบ ส่งผลให้องค์ประกอบทางเคมีของส่วนผสมไม่สม่ำเสมอ ยิ่งความแตกต่างของน้ำหนักส่วนผสมจากสูตรการผลิตยิ่งมาก จะทำให้ปริมาณรีมเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งสามารถความผิดพลาดจากการชั่งนี้สามารถแก้ไขได้โดยติดตั้งค้อนลมเพื่อเคาะวัตถุดิบให้ลงไปในโม่ผสมวัตถุดิบครบถ้วนตามสูตรการผลิต


ผลของลำดับการผสมวัตถุดิบต่อประสิทธิภาพการใช้พลังงานในการหลอมแก้ว, ปรีณาพรรณ ปิ่นหอม Jan 2020

ผลของลำดับการผสมวัตถุดิบต่อประสิทธิภาพการใช้พลังงานในการหลอมแก้ว, ปรีณาพรรณ ปิ่นหอม

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

โดยทั่วไปกระบวนการหลอมแก้วระดับอุตสาหกรรมต้องการพลังงานสูงสำหรับการเปลี่ยนแปลงจากวัตถุดิบเป็นน้ำแก้ว วัตถุประสงค์ในงานวิจัยนี้จะกล่าวถึงการพัฒนากระบวนการหลอมแก้วโซดาไลม์โดยวิธีปรับลำดับการผสมในระดับห้องปฏิบัติการ ซึ่งอาศัยกลไกของปฏิกิริยาสถานะของแข็งระหว่างทรายแก้วและโซเดียมคาร์บอเนตในช่วงแรกของการหลอม การเตรียมส่วนผสมแบบดั้งเดิมเป็นการผสมวัตถุดิบทั้งหมดภายในครั้งเดียว ในงานวิจัยนี้ต้องการปรับเปลี่ยนวิธีการเตรียมส่วนผสมให้เหมาะสมที่สุดต่อการหลอมโดยการปรับลำดับของการผสม ประกอบด้วยสองขั้นตอนการผสม ขั้นตอนแรกคือการผสมทรายแก้วและโซเดียมคาร์บอเนต จากนั้นจึงผสมวัตถุดิบที่เหลือเป็นขั้นตอนที่สอง เพื่อเปรียบเทียบและศึกษาผลของการเตรียมส่วนผสมทั้งสองวิธี ได้ทำการศึกษาสภาพและการเปลี่ยนแปลงระหว่างกระบวนการหลอมที่อุณหภูมิตั้งแต่ 600 ถึง 1000 องศาเซลเซียส นอกจากนี้มีผลของปริมาณวัตถุดิบที่หลอมไม่หมดบนพื้นผิวซึ่งยังคงลงเหลือในสภาพผลึก ณ สภาวะที่กำหนด เพื่อเปรียบเทียบแนวโน้มประสิทธิผลในการหลอมของส่วนผสมจากการผสมสองวิธี โดยภาพถ่ายผิวหน้าและโดยเทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ ผลการวิจัยพบว่าการจัดลำดับการผสมเป็นวิธีการผสมที่เหมาะสมกว่า ส่งผลต่ออัตราการหลอม พื้นผิวสัมผัสที่เพิ่มขึ้นระหว่างทรายแก้วและโซเดียมคาร์บอเนตจากการผสมขั้นตอนแรกนำไปสู่การเพิ่มอัตราการหลอมของทั้งระบบ ต่างจากวิธีการเดิมที่อาจมีวัตถุดิบอื่นเป็นตัวขัดขวางการเกิดปฏิกิริยาสถานะของแข็งดังกล่าว


Assessing Environmental Impact Through Dpsir Framework And Environmental Justice Lenses:A Case Study Of Inland Capture Fisheries In Mahakam River, Etik Sulistiowati Ningsih Jan 2020

Assessing Environmental Impact Through Dpsir Framework And Environmental Justice Lenses:A Case Study Of Inland Capture Fisheries In Mahakam River, Etik Sulistiowati Ningsih

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Inland capture fisheries significantly contribute to the achievement of SDG, but most inland capture fisheries are poorly managed or not managed at all. Inland fishery is often facing against the big-scale industrial project. In the Middle Mahakam Area, two dominant natural resources exploited for the industrial project are palm oil and coal mining. Palm oil production, coal mining production, the human population was increasing in the last ten years, and on the opposite, the water quality index is decreasing. However, although many previous studies suggested that fish catches are declining, fisheries statistics show the opposite data. Government statistics show that …


เรื่องจากปก: "Single Use Plastic" มีค่ามากกว่าที่เรารู้, สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ Jan 2020

เรื่องจากปก: "Single Use Plastic" มีค่ามากกว่าที่เรารู้, สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: ผลกระทบของสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงต่อทรัพยากรน้ำและการจัดการ, ศิริรัตน์ สังขรักษ์, พัชชาพันธ์ รัตนพันธ์, อาทิตย์ เพ็ชร์รักษ์, สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ Jan 2020

บทความ: ผลกระทบของสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงต่อทรัพยากรน้ำและการจัดการ, ศิริรัตน์ สังขรักษ์, พัชชาพันธ์ รัตนพันธ์, อาทิตย์ เพ็ชร์รักษ์, สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: เรียนรู้ความพยายามของเกาหลีใต้และไต้หวันในการลดขยะพลาสติก, สุจิตรา วาสนาดำรงดี Jan 2020

บทความ: เรียนรู้ความพยายามของเกาหลีใต้และไต้หวันในการลดขยะพลาสติก, สุจิตรา วาสนาดำรงดี

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: ถอดเกร็ดความรู้จากการสัมมนาวิชาการ "My Building Is Killing Me: How To Grow Fresh Indoor Air", มณีรัตน์ องค์วรรณดี Jan 2020

บทความ: ถอดเกร็ดความรู้จากการสัมมนาวิชาการ "My Building Is Killing Me: How To Grow Fresh Indoor Air", มณีรัตน์ องค์วรรณดี

Thai Environment

No abstract provided.


บทความ: จีโอพอลิเมอร์…ทางเลือกใหม่สู่อุตสาหกรรมการก่อสร้าง, วราพร วงษ์เจริญสมบัติ, วีระวรรณ เฉลิมสกุลกิจ, นุตา ศุภคต Jan 2020

บทความ: จีโอพอลิเมอร์…ทางเลือกใหม่สู่อุตสาหกรรมการก่อสร้าง, วราพร วงษ์เจริญสมบัติ, วีระวรรณ เฉลิมสกุลกิจ, นุตา ศุภคต

Thai Environment

No abstract provided.