Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®
Social and Behavioral Sciences Commons™
Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®
- Institution
-
- San Jose State University (12651)
- Western Kentucky University (7069)
- Cedarville University (6723)
- Wright State University (4556)
- University of Central Florida (4183)
-
- Ouachita Baptist University (4142)
- Colby College (3024)
- Lindenwood University (2838)
- Morehead State University (2713)
- Selected Works (2664)
- Providence College (2030)
- Winthrop University (2026)
- University of Memphis (1557)
- Columbia College Chicago (1477)
- Hollins University (1399)
- Parkland College (1371)
- University of Texas at Arlington (1112)
- University of Nebraska - Lincoln (1032)
- Minnesota State University, Mankato (999)
- University of Massachusetts Boston (899)
- Purdue University (848)
- CentraCare Health (775)
- Singapore Management University (746)
- Georgia College (732)
- University of Dayton (722)
- SelectedWorks (697)
- Eastern Illinois University (646)
- Seton Hall University (636)
- Portland State University (609)
- University of Texas at El Paso (584)
- Keyword
-
- Newspaper (15400)
- Spartan Daily (12401)
- Western Kentucky University (6475)
- Cedarville (6142)
- Student newspaper (4524)
-
- Student newspapers (3568)
- Communication (3323)
- Wright State University (3301)
- Student life (3046)
- American newspapers (3003)
- Agricultural newspapers (3000)
- Central Maine (3000)
- Maine history (3000)
- Popular literature (3000)
- Ohio (2839)
- Cedarville Herald (2738)
- 19th century newspapers (2670)
- Newspapers (2487)
- Future (2300)
- Central Florida Future (2282)
- Alumni (2205)
- Athletics (2157)
- African Americans (1957)
- Newsletter (1939)
- Blacks (1924)
- Cedarville University (1828)
- Faculty (1722)
- News (1697)
- Athletics (WKU) (1616)
- Syllabus, syllabi, journalism, communication, media, strategic media (1556)
- Publication Year
- Publication
-
- Spartan Daily (School of Journalism and Mass Communications) (11410)
- WKU Administration Documents (6242)
- The Cedarville Herald (2734)
- The Guardian Student Newspaper (2668)
- Central Florida Future (2281)
-
- The Waterville Mail (Waterville, Maine) (2161)
- The Cowl (1968)
- News Releases (1822)
- Journalism and Strategic Media Syllabi (1557)
- Rowan County News Archive (1488)
- Hollins Student Newspapers (1384)
- Press Releases (1167)
- Columbia Chronicle (1072)
- Jessie Maye Smith Birds and Watchers Columns Collection (1036)
- Theses and Dissertations (1019)
- The Eastern Mail (Waterville, Maine) (839)
- On Sport and Society (805)
- The Linden Bark (1924-1969) (759)
- Cedars (752)
- Colonnade (724)
- Electronic Theses and Dissertations (663)
- Masters Theses (646)
- Basic Communication Course Annual (625)
- CLCWeb: Comparative Literature and Culture (580)
- Organization Management Journal (542)
- Kno.e.sis Publications (541)
- Communiqué (527)
- Lindenwood Digest (512)
- Journal of International and Global Studies (497)
- Morehead Independent Archive (497)
- Publication Type
Articles 8401 - 8430 of 98258
Full-Text Articles in Social and Behavioral Sciences
Jrsm 1750: Precision Language (Syllabus), Pamela Denney
Jrsm 1750: Precision Language (Syllabus), Pamela Denney
Journalism and Strategic Media Syllabi
Course Description: Introduction to grammar and writing style for use in journalism and mass communication; foundations of research and information gathering, media literacy, and plagiarism.
Jrsm 1800: Introduction To Radio (Syllabus), Terris King
Jrsm 1800: Introduction To Radio (Syllabus), Terris King
Journalism and Strategic Media Syllabi
Course Description: This course is an introduction to the production and performance skills required for basic work in radio. In addition to receiving lab training and instruction, all students will complete regular shifts at the campus radio station.
Jrsm 4702: Media, Diversity, & Society (Syllabus), Otis Sandford
Jrsm 4702: Media, Diversity, & Society (Syllabus), Otis Sandford
Journalism and Strategic Media Syllabi
Course Description: Advanced study of recent, critical issues faced by mass media with exploration of complexities that cause them and their impact on society.
Jrsm 4930: Media Internship (Syllabus), Michael Robinson
Jrsm 4930: Media Internship (Syllabus), Michael Robinson
Journalism and Strategic Media Syllabi
Course Description: Work in practical assignments at local media and other communication organizations under supervision of qualified practitioners.
Pbrl 3400: Introduction To Public Relations (Syllabus), Melissa L. Janoske Mclean
Pbrl 3400: Introduction To Public Relations (Syllabus), Melissa L. Janoske Mclean
Journalism and Strategic Media Syllabi
Course Description: Broad survey of public relations and its relationship to marketing and communications. Traditional and non-traditional public relations will be studied, and emphasis will be placed on problem-solving and applications of modern tools and practices.
Jrsm 7200: Mass Communication Technology (Syllabus), Ruoxu Wang
Jrsm 7200: Mass Communication Technology (Syllabus), Ruoxu Wang
Journalism and Strategic Media Syllabi
Course Description: This graduate seminar is devoted to the psychological aspects of human computer interaction (HCI) and computer-mediated communication (CMC). Theories and empirical research from communication, psychology, consumer behavior, and human-computer studies will be discussed in this class.
Jour 4801/6801: Reporting Social Justice (Syllabus), Joe Hayden
Jour 4801/6801: Reporting Social Justice (Syllabus), Joe Hayden
Journalism and Strategic Media Syllabi
Course Description: Writing and reporting news and feature stories on issues concerning social justice.
Jrsm 3900: Visual Media (Syllabus), Ashley Perks
Jrsm 3900: Visual Media (Syllabus), Ashley Perks
Journalism and Strategic Media Syllabi
Course Description: Introduction to and application of principles of visual communication, including typography, color and organization for print and digital media using Adobe Creative Cloud. One lecture hour, four laboratory hours per week.
Jrsm 3900: Visual Media (Syllabus), Ruoxu Wang
Jrsm 3900: Visual Media (Syllabus), Ruoxu Wang
Journalism and Strategic Media Syllabi
Course Description: Introduction to and application of principles of visual communication, including typography, color and organization for print and digital media using Adobe Creative Cloud. One lecture hour, four laboratory hours per week.
Jrsm 2121: Media Writing (Syllabus), Ashley B. Craig
Jrsm 2121: Media Writing (Syllabus), Ashley B. Craig
Journalism and Strategic Media Syllabi
Course Description: Basic instruction in journalistic forms and AP style; information gathering and composition of news stories; media literacy.
Jour 6801: Reporting Social Justice (Syllabus), Joe Hayden
Jour 6801: Reporting Social Justice (Syllabus), Joe Hayden
Journalism and Strategic Media Syllabi
Course Description: Writing and reporting news and feature stories on issues concerning social justice.
The Sound Of Identity: Audios And Hashtags As Nexuses Of Practice On Tiktok, Lindsey Wright
The Sound Of Identity: Audios And Hashtags As Nexuses Of Practice On Tiktok, Lindsey Wright
Honors Undergraduate Theses
This study investigates TikTok audios and hashtags through the lens of digital literacy studies, using Ron Scollon's nexus of practice as a theoretical framework. The researcher sought to investigate literacy practices on TikTok, such as how lurkers and posters interact with the app in ways that both define and are defined by their individual identities. Relative to other social media platforms, there is a dearth of research on TikTok. This study contributes to the gap while also building off the findings of Kaye et al., who investigated authorship and (mis)attribution on the app, and Sachs et al.'s claim that Goffman's …
Pixelated Domes: Cinematic Code Changes Through A Frank Lloyd Wright Lens, William Allen
Pixelated Domes: Cinematic Code Changes Through A Frank Lloyd Wright Lens, William Allen
Electronic Theses and Dissertations, 2020-2023
Panoramic 360-degree documentary videos continue to saturate the visual landscape. As practitioners' experiment with a new genre, understanding meaning and making awaits the academic and marketplace landscape. The new media journey of 360-degree documentary storytelling is ripe for media archaeologist to explore. New media scholar Lev Manovich (2016) believes "we are witnessing the new emergence of a cultural metalanguage, something that will be at least as significant as the printed word and cinema before it" (p. 49) Considering the meta- development of this new media genre, my dissertation seeks to discuss the historical roots of the panoramic image, define 360-degree …
Thais' Attitude Towards Product Placement In Gaming Streamers On Youtube, Jiraphat Jirappapa
Thais' Attitude Towards Product Placement In Gaming Streamers On Youtube, Jiraphat Jirappapa
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
This research aims to explore the attitude of Thai people towards product placement in gaming streamers on Youtube. The research explores the relationship between Thais’ attitudes towards product placement and gaming streamers on Youtube. This quantitative research was conducted through an online survey which collected data from 200 Thai respondents, aged above 18 years old who noticed product placement in gaming streamers’ channel on Youtube. The results from the study reveals that respondents’ attitudes towards product placement in gaming streamers on Youtube, categorized into product integration and video advertisement , result differently based on the categorization of product placement. Respondents …
The Relationship Between Ewom Credibility, Consumer’S Trust, And Intention To Visit A Café Based On The Café Story Facebook Page, Nutchawee Ahrivorayapong
The Relationship Between Ewom Credibility, Consumer’S Trust, And Intention To Visit A Café Based On The Café Story Facebook Page, Nutchawee Ahrivorayapong
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
The purpose of this research is to explore eWOM credibility, consumer’s trust, and intention to visit a café based on the Café Story Facebook page and to explore the relationship between these three variables. This research employs a quantitative approach through an online survey, data are collected from 250 target samples who are Thai millennials, aged between 25-40 years old, and follow the Café Story Facebook page. The findings depict that the respondents considered eWOM on the Café Story Facebook page highly credible (M = 4.36). The respondents also highly trust the page (M = 4.19), with cognitive trust receiving …
The Relationship Between Chinese Consumers' Exposure To Taobao Live Streaming Of Thai Brands And Their Purchase Behavior, Chen Lin
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
The objectives of this research were to examine Chinese consumers' exposure to Taobao live streaming of Thai brands, Chinese consumers' purchase behavior of Thai brands via Taobao and test the relationship between these two variables. This research utilizes quantitative methods by collecting the data through online questionnaires. With the collected questionnaires of 203 respondents, aged between 18-40 years old who have watched Taobao live streaming of Thai brands recently. The findings indicated most of respondents sometimes watch Taobao live streaming of Thai brands (M = 2.83), and their watching time was less than two hours (M = 2.49). The results …
การรับรู้แบรนด์องค์กร การรับรู้ความเสี่ยงเรื่อง พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และความตั้งใจในการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน), ดุริยภัทร ศรีรัตนพงศ์
การรับรู้แบรนด์องค์กร การรับรู้ความเสี่ยงเรื่อง พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และความตั้งใจในการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน), ดุริยภัทร ศรีรัตนพงศ์
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการรับรู้แบรนด์องค์กร การรับรู้ความเสี่ยงเรื่อง พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และความตั้งใจในการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการธนาคารกสิกรไทย และ (2) อิทธิพลของการรับรู้แบรนด์องค์กร และการรับรู้ความเสี่ยงเรื่อง พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่มีต่อความตั้งใจในการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการธนาคารกสิกรไทย ผู้วิจัยเลือกแนวเชิงบุกเบิก (Exploratory Approach) ด้วยวิธีการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) และเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Questionnaire) จากผู้ใช้บริการธนาคารกสิกรไทยที่มีการทำธุรกรรมกับทางธนาคารไม่น้อยกว่า 1 ปี โดยนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ผ่านวิธีการทางสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร่วมกับสถิติเชิงอนุมานด้วยวิธีการวิเคราะห์แบบการถดถอยแบบพหุ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า (1) การรับรู้แบรนด์องค์กร การรับรู้ความเสี่ยงเรื่อง พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และความตั้งใจในการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการธนาคารกสิกรไทย อยู่ในระดับที่ดีมาก และ (2) การรับรู้แบรนด์องค์กร การรับรู้ความเสี่ยงเรื่อง พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล มีผลต่อความตั้งใจเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการธนาคารกสิกรไทยที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
พฤติกรรมและความผูกพันของผู้ใช้งานต่อแอปพลิเคชัน Tiktok, จิตวัฒน์ สารตันติพงศ์
พฤติกรรมและความผูกพันของผู้ใช้งานต่อแอปพลิเคชัน Tiktok, จิตวัฒน์ สารตันติพงศ์
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
การวิจัยเชิงสำรวจในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมและความผูกพันของผู้ใช้งานต่อแอปพลิเคชัน TikTok และ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมและความผูกพันของผู้ใช้งานต่อแอปพลิเคชัน TikTok โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลผ่านช่องทางออนไลน์จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 219 คน อายุระหว่าง 18 – 37 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ใช้งานในช่วงวัย Generation Y และ Z ที่เคยใช้งานแอปพลิเคชัน TikTok ไม่น้อยกว่า 1 ครั้งต่อสัปดาห์ ในระยะเวลา 2 เดือนที่ผ่านมา ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย ผลการวิจัยวิจัยพบว่า ผู้ใช้งานมีพฤติกรรมการใช้งานแอปพลิเคชัน TikTok ทั้งด้านการรับรู้ ทัศนคติ ความตั้งใจใช้งาน และความพึงพอใจค่อนข้างมาก นอกจากนั้น พฤติกรรมการใช้งานยังมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความผูกพันต่อแอปพลิเคชัน TikTok อันประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ในด้านความคิด ความรู้สึก และการกระทำ กล่าวคือ ผู้ใช้งานมีพฤติกรรมต่อแอปพลิเคชัน TikTok มากเพียงใด ก็จะยิ่งส่งผลต่อความผูกพันของผู้ใช้งานต่อแอปพลิเคชัน TikTok สูงเช่นเดียวกัน ขณะที่ช่วงวัย Generation Z มีพฤติกรรมการใช้งานในด้านความตั้งใจใช้งานมากกว่าช่วงวัย Generation Y อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การใช้สตรีทอาร์ตเพื่อเป็นกลยุทธ์ส่งเสริมการท่องเที่ยว, ปิยะธิดา ขันสิงหา
การใช้สตรีทอาร์ตเพื่อเป็นกลยุทธ์ส่งเสริมการท่องเที่ยว, ปิยะธิดา ขันสิงหา
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะสำรวจการสื่อสารความคิดเห็นบนสื่อออนไลน์ของนักท่องเที่ยวที่มีต่อภาพสตรีทอาร์ตในเมืองท่องเที่ยวในประเทศไทยเพื่อเข้าใจแนวทางการสร้างสรรค์ภาพสตรีทอาร์ตสำหรับเป็นกลยุทธ์การสื่อสารเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยเลือกสำรวจความคิดเห็นที่เกี่ยวกับสตรีทอาร์ตในพื้นที่เมืองรอง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรีมาวิเคราะห์รูปแบบการตอบรับและการสื่อสารการรับรู้ภาพสตรีทอาร์ตของนักท่องเที่ยวจากการรีวิวแหล่งท่องเที่ยวผ่าน Google Maps Review ระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2560 ถึง 15 มิถุนายน 2565 การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยอาศัยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Leximancer วิเคราะห์ข้อความและเนื้อหาหลักที่ปรากฏในกลุ่มตัวอย่าง ประกอบการการวิเคราะห์ด้วยการลงรหัสเพื่อศึกษาเนื้อหาภาพภาพที่นำมาใช้ในรีวิว รวมจำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 512 ชิ้น ผลการศึกษาพบว่านักท่องเที่ยวนิยมแสดงออกผ่านรูปภาพมากกว่าแสดงความคิดเห็นด้วยข้อความ และมีจำนวนน้อยที่แสดงความเห็นผ่านทั้งรูปภาพและข้อความ ในส่วนของการวิเคราะห์ข้อความแสดงความคิดเห็น 103 ข้อความด้วยโปรแกรม Leximancer จำแนกประเด็นสำคัญ (Theme) ได้ 5 ประเด็น ได้แก่ 1. Beautiful (ความสวยงาม) 2. Food (อาหาร) 3. Painting (ภาพวาด) 4. Town (เมือง) 5. Care (การดูแล) ภาพวาดสตรีทอาร์ตมีความสวยงาม องค์ประกอบของภาพสตรีทอาร์ตเรื่องราวท้องถิ่น และวิถีชีวิตของเมืองและสะท้อนจิตวิญญาณแห่งพื้นที่ ภาพสตรีทอาร์ตจึงเป็นสื่อกลางในการสื่อสารเชื่อมโยงความเป็นเมืองเข้ากับประสบการณ์นักท่องเที่ยวได้ ในส่วนการวิเคราะห์รูปภาพ ผู้วิจัยพบว่าเนื้อหาของภาพสตรีทอาร์ต 409 ภาพที่นักท่องเที่ยวให้ความนิยมและชื่นชอบในการเลือกถ่ายภาพมาเพื่อประกอบการรีวิวในสื่อสังคมออนไลน์นั้น จำแนกเป็น 6 หมวดหมู่ ได้แก่ 1. คาแรคเตอร์ 2. สัญลักษณ์ทางภาษา 3. อัตลักษณ์ท้องถิ่น 4. คนกับวิถีชีวิต 5. ประวัติศาสตร์ และ 6. การสะท้อนปัญหาสังคม อย่างไรก็ดี แม้ว่าจะมีเนื้อหาที่สะท้อนความเป็นชุมชนอยู่มากมาย แต่จะพบว่านักท่องเที่ยวนิยมถ่ายเฉพาะภาพถ่ายสตรีทอาร์ตโดด ๆ มากกว่ามีทีท่าปฏิสัมพันธ์กับเนื้อหาในภาพสตรีทอาร์ต ผู้วิจัยเห็นว่าการใช้สตรีทอาร์ตเป็นกลยุทธ์ส่งเสริมการท่องเที่ยวนั้นเป็นไปได้ หากใช้ความสวยงามของภาพสตรีทอาร์ตเป็นจุดดึงดูดความสนใจ ควบคู่ไปกับเนื้อหาที่สะท้อนความเป็นชุมชน ความคิดสร้างสรรค์ผ่านคาแรคเตอร์และการเล่าเรื่อง แต่การใช้สตรีทอาร์ตต้องเชื่อมโยงกับปัจจัยด้านการท่องเที่ยวอื่น ๆ ประกอบด้วยหากต้องการสร้างประสบการณ์ที่น่าจดจำแก่นักท่องเที่ยวกับเมืองที่ไปเยี่ยมชม
กลยุทธ์การสื่อสารผ่านผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริงของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน), อธิวัฒน์ คชภูมิ
กลยุทธ์การสื่อสารผ่านผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริงของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน), อธิวัฒน์ คชภูมิ
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) คุณลักษณะของผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริง 2) ประโยชน์ในการใช้งานผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริง และ 3) กลยุทธ์การสื่อสารผ่านผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริงของเอไอเอส โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary research) จากเอกสารที่เกี่ยวข้อง รวมถึงศึกษาชิ้นงานในรูปแบบต่างๆ ควบคู่กับการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) ผู้ให้ข้อมูลหลัก 3 กลุ่มตามคุณสมบัติที่ได้กำหนดไว้ ได้แก่ นักสื่อสารแบรนด์ของเอไอเอส เจ้าหน้าที่ของเซีย แบงคอก (SIA Bangkok) และผู้เชี่ยวชาญด้านผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริงจากบริษัทสื่อโฆษณาดิจิทัล หรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษา พบว่าผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริง (Virtual influencer) มีคุณลักษณะสำคัญ 3 ด้าน ได้แก่ คุณลักษณะด้านความเหมือนมนุษย์ คุณลักษณะด้านความควบคุมได้ และคุณลักษณะด้านการให้ประสบการณ์ที่แปลกใหม่ ในส่วนของประโยชน์ในการใช้งานผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริง มีแนวทางการใช้งานใน 3 ด้าน ประกอบด้วย การรีวิวสินค้าและบริการ การใช้เพื่อเป็นตัวแทนของตราสินค้า และการสร้างความร่วมมือ ซึ่งทำให้เกิดประโยชน์ในเชิงภาพลักษณ์ตราสินค้า และในเชิงประสบการณ์ของผู้บริโภค ทั้งนี้ สำหรับกลยุทธ์การสื่อสารผ่านผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริงของเอไอเอส มีกลยุทธ์การสื่อสาร 4 ด้าน ได้แก่ กลยุทธ์การใช้ตัวแทนของแบรนด์เสมือนจริง กลยุทธ์การสื่อสารแบบเล่าเรื่อง กลยุทธ์การสื่อสารบนโลกออนไลน์ และกลยุทธ์การใช้ผู้มีชื่อเสียง โดยผสมผสานเครื่องมือสื่อสารการตลาด ได้แก่ การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ และการจัดกิจกรรม เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ด้านการสร้างภาพลักษณ์ตราสินค้าให้เป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีความทันสมัย และสร้างประสบการณ์ใหม่ให้แก่ลูกค้าขององค์กร
Impacts Of Bandwagon Effect And Product Type In Instagram Native Advertising On Generation Z Consumer's Behavior, Leiv Tore Kaltbeitzer
Impacts Of Bandwagon Effect And Product Type In Instagram Native Advertising On Generation Z Consumer's Behavior, Leiv Tore Kaltbeitzer
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
The objective of this study was to investigate the impact of bandwagon effect and product type in Instagram native advertising on consumer behavior (i.e., ad intrusiveness, attitude towards the ad, attitude towards the brand, purchase intention and intention to share). Using an experimental method, a 2 (bandwagon effect: high and low) x 2 (product type: utilitarian and hedonic) factorial design was employed to collect data from 129 undergraduate students at The results indicated that bandwagon effect as well as product type have main effects on consumer behavior, in terms of intention to share and purchase intention, respectively. No interaction effect …
Factors Influencing Consumers’ Purchaseintention Towards Products Endorsed By Korean Boy Bands On Youtube, Wanthida Tiwari
Factors Influencing Consumers’ Purchaseintention Towards Products Endorsed By Korean Boy Bands On Youtube, Wanthida Tiwari
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
The objective of the study is the understand the factors that influence consumer purchase intention of products endorsed by Korean boy bands on YouTube and identify the weight of the attitude towards source characteristics, YouTube engagement, product involvement level and YouTube advertisement formats amongst each other and with purchase intention. The study was conducted in a quantitative approach from 408 respondents who have been exposed to YouTube ads in 2022. The results are as followed: (1) attractiveness was the highest scored sub-variable of source characteristics, along with clicking like for engagement, product placement for advertisement formats and low involvement product …
การเปิดรับการสื่อสารการตลาด ทัศนคติต่อแอปพลิเคชันชอปปิงออนไลน์ และการตัดสินใจซื้อเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของผู้บริโภค, ปณิธิ เสกสรรค์วิริยะ
การเปิดรับการสื่อสารการตลาด ทัศนคติต่อแอปพลิเคชันชอปปิงออนไลน์ และการตัดสินใจซื้อเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของผู้บริโภค, ปณิธิ เสกสรรค์วิริยะ
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับการสื่อสารการตลาด ทัศนคติต่อแอปพลิเคชันชอปปิงออนไลน์ และการตัดสินใจซื้อเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาผ่านแอปพลิเคชันชอปปิงออนไลน์ของผู้บริโภค การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยได้ดำเนินการศึกษาแบบวิจัยเชิงสำรวจ เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริโภคที่มีอายุ 18 ปี ขึ้นไป และเคยใช้งานแอปพลิเคชันชอปปิงออนไลน์ในช่วง 1 ปี ที่ผ่านมา จำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างเปิดรับการสื่อสารการตลาดเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาผ่านแอปพลิเคชันชอปปิงออนไลน์ โดยรวมทุกด้าน อยู่ในระดับปานกลาง มีทัศนคติต่อแอปพลิเคชันชอปปิงออนไลน์ โดยรวมอยู่ในระดับเชิงบวก และมีการตัดสินใจซื้อเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาผ่านแอปพลิเคชันชอปปิงออนไลน์ โดยรวมอยู่ในระดับสูง ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า การเปิดรับการสื่อสารการตลาดเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาผ่านแอปพลิเคชันชอปปิงออนไลน์โดยรวม มีความสัมพันธ์กับทัศนคติต่อแอปพลิเคชันชอปปิงออนไลน์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีความสัมพันธ์กันในทางบวก และอยู่ในระดับต่ำ ทัศนคติต่อแอปพลิเคชันชอปปิงออนไลน์มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาผ่านแอปพลิเคชันชอปปิงออนไลน์โดยรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีความสัมพันธ์กันในทางบวก และอยู่ในระดับต่ำ
การเปิดรับสื่อ ความพึงพอใจ การรับรู้ความเสี่ยง และความตั้งใจซื้อเครื่องดื่มกาแฟแบบสมัครสมาชิกจัดส่งถึงบ้าน, วรรษา รักหลวง
การเปิดรับสื่อ ความพึงพอใจ การรับรู้ความเสี่ยง และความตั้งใจซื้อเครื่องดื่มกาแฟแบบสมัครสมาชิกจัดส่งถึงบ้าน, วรรษา รักหลวง
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
การวิจัยเชิงปริมาณนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปิดรับสื่อ ความพึงพอใจ การรับรู้ความเสี่ยง และความตั้งใจซื้อเครื่องดื่มกาแฟแบบสมัครสมาชิกจัดส่งถึงบ้าน โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป และเคยพบเห็นสื่อเกี่ยวกับเครื่องดื่มกาแฟแบบสมัครสมาชิกจัดส่งถึงบ้านประเภทแคปซูลหรือถุงพร้อมดื่มในระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา ผลการวิจัย พบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างเปิดรับสื่อเกี่ยวกับเครื่องดื่มกาแฟแบบสมัครสมาชิกจัดส่งถึงบ้านโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) กลุ่มตัวอย่างพึงพอใจต่อสื่อเกี่ยวกับเครื่องดื่มกาแฟแบบสมัครสมาชิกจัดส่งถึงบ้านอยู่ในระดับมาก 3) กลุ่มตัวอย่างรับรู้ความเสี่ยงในการซื้อเครื่องดื่มกาแฟแบบสมัครสมาชิกจัดส่งถึงบ้านในระดับปานกลาง และ 4) กลุ่มตัวอย่างมีความตั้งใจซื้อเครื่องดื่มกาแฟแบบสมัครสมาชิกจัดส่งถึงบ้านอยู่ในระดับปานกลาง ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1) การเปิดรับสื่อมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความพึงพอใจต่อสื่อเกี่ยวกับเครื่องดื่มกาแฟแบบสมัครสมาชิกจัดส่งถึงบ้าน 2) การเปิดรับสื่อมีความสัมพันธ์เชิงลบกับการรับรู้ความเสี่ยงในการซื้อเครื่องดื่มกาแฟแบบสมัครสมาชิกจัดส่งถึงบ้าน 3) การเปิดรับสื่อ ความพึงพอใจ และการรับรู้ความเสี่ยงมีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อเครื่องดื่มแบบสมัครสมาชิกจัดส่งถึงบ้าน 4) กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุแตกต่างกันและกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกันมีการเปิดรับสื่อแตกต่างกัน และ 5) กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับการศึกษาที่สำเร็จสูงสุดแตกต่างกันมีความตั้งใจซื้อแตกต่างกัน
การวิเคราะห์ภาพตัวแทนของผู้หญิงล้านนาในละครโทรทัศน์แนวย้อนยุคบริบทภาคเหนือ, วัชรวีร์ ไชยยายนต์
การวิเคราะห์ภาพตัวแทนของผู้หญิงล้านนาในละครโทรทัศน์แนวย้อนยุคบริบทภาคเหนือ, วัชรวีร์ ไชยยายนต์
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพตัวแทนของผู้หญิงล้านนาในละครโทรทัศน์แนวย้อนยุคบริบทภาคเหนือ โดยศึกษาละครโทรทัศน์แนวย้อนยุคบริบทภาคเหนือจำนวน 3 เรื่อง ซึ่งออกอากาศทางช่อง 3HD ในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2563 งานวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ แบ่งเป็น 3 ขั้นตอนคือ 1.การวิเคราะห์ตัวบทละคร 2.การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ผลิต ได้แก่ ผู้เขียนบทละครโทรทัศน์และผู้จัดละครโทรทัศน์ 3.การจัดกลุ่มสนทนาผู้ชมละครโทรทัศน์ที่เป็นผู้หญิงล้านนา ผลการวิจัยพบว่า ภาพตัวแทนของผู้หญิงล้านนาในละครโทรทัศน์แนวย้อนยุคบริบทภาคเหนือทั้ง 3 เรื่อง มีการสร้างภาพตัวแทนของความเป็นแม่ ความเป็นเมีย และความเป็นลูกสาว ซึ่งมีจุดเริ่มต้นจากสถาบันครอบครัวทั้งสิ้น ผู้หญิงล้านนาส่วนใหญ่มีหน้าที่สนับสนุนความสำเร็จของคู่ครองและทำหน้าที่ดูแลทุกอย่างภายในบ้าน ดังนั้นการถ่ายทอดอุดมการณ์ทางความคิดจากรุ่นสู่รุ่นจึงตกเป็นหน้าที่ของผู้หญิง ภาพตัวแทนผู้หญิงล้านนาในละครบางเรื่องจึงแสดงออกถึงความเป็นแม่และความเป็นเมียควบคู่กัน ภาพตัวแทนของผู้หญิงล้านนาที่แสดงออกมา มีการประกอบสร้างภาพตัวแทนโดยการนำบริบทของวัฒนธรรมปัจจุบันผสมผสานเข้าไปกับวัฒนธรรมล้านนาแบบดั้งเดิม ดังนั้นภาพตัวแทนที่แสดง จึงเป็นสิ่งที่กระทบเข้าไปในการรับรู้และความรู้สึกของผู้ชม เนื่องจากภาพตัวแทนที่เห็นนั้นเป็นเหมือนภาพสะท้อนของตัวเอง ก่อให้เกิดการตั้งคำถามว่าเราควรทำหรือไม่ควรทำตามภาพสะท้อนที่เห็น และถ้าเราอยู่ ณ เวลานั้นในอดีต เราจะทำอย่างไร อีกประการ การสร้างภาพตัวแทนผู้หญิงล้านนาในละคร ได้สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นจริงทางสังคมในหลายแง่มุม เพราะสิ่งที่ปรากฏในละครบางอย่างยังคงอยู่ในปัจจุบัน
การสร้างสรรค์การแสดงเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวของพิพิธภัณฑ์บ้านกุฎีจีน, อองฟอง เอี่ยมประพันธ์
การสร้างสรรค์การแสดงเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวของพิพิธภัณฑ์บ้านกุฎีจีน, อองฟอง เอี่ยมประพันธ์
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
พิพิธภัณฑ์บ้านกุฎีจีน เป็นพิพิธภัณฑ์เอกชนที่นำเสนอเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และประเพณีของชุมชนกุฎีจีน ผ่านนิทรรศการที่จัดแสดงวัตถุและป้ายคำบรรยายที่อธิบายวัตถุอย่างตรงไปตรงมาตามปกติ ซึ่งนับเป็นการสื่อสารตามรูปแบบของพิพิธภัณฑ์วิทยา (Museology) ที่มีเป้าหมายในการอนุรักษ์วัตถุอันเป็นมรดกสืบทอดของมนุษย์และเผยแพร่ความรู้เพื่อประโยชน์ด้านการศึกษา การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสร้างสรรค์ (Creative Research) เพื่อสร้างสรรค์การแสดงเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวของพิพิธภัณฑ์บ้านกุฎีจีน และเพื่อศึกษาทัศนคติของผู้เข้าชมต่อการแสดงรูปแบบพิพิธภัณฑ์นาฏกรรมตามแนวคิดพิพิธภัณฑ์สมัยใหม่ (New Museology) ที่ให้ความสำคัญกับผู้เข้าชมในฐานะผู้รับสารที่มีส่วนร่วมมากกว่าการพิจารณาเป็นเพียงผู้สังเกตการณ์ โดยผู้วิจัยได้สร้างสรรค์การแสดงเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวของพิพิธภัณฑ์บ้านกุฎีจีน 1 เรื่อง เพื่อศึกษากระบวนการสร้างสรรค์ผ่านขั้นเตรียมการแสดง ขั้นจัดการแสดง และขั้นหลังการแสดง ผลการวิจัยพบว่า การแสดงรูปแบบพิพิธภัณฑ์นาฏกรรมได้ทำหน้าที่ในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวที่เป็นประวัติศาสตร์ท้องถิ่นหรือวิถีชุมชนได้ในเชิงของภาพ อารมณ์ และความรู้สึก ซึ่งสะท้อนให้เห็นบริบทแวดล้อมในมิติต่าง ๆ ผ่านเครื่องแต่งกาย อุปกรณ์ประกอบฉาก และบทสนทนาของตัวละคร รวมถึงเป็นการสร้างสภาพแวดล้อมที่กระตุ้นให้ผู้เข้าชมอยากศึกษาเรียนรู้มากขึ้น อย่างไรก็ตาม การคัดเลือกประเด็นหรือเนื้อหาในการนำเสนอผ่านการแสดงเพื่อให้ผู้เข้าชมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชุมชนกุฎีจีน ควรคำนึงถึงกลุ่มผู้เข้าชมเป้าหมายเป็นหลัก เพราะผู้เข้าชมที่มีอายุ ความรู้ และประสบการณ์ที่แตกต่างกัน ย่อมมีผลต่อการรับรู้ที่แตกต่างกันด้วย
การต่อรองอัตลักษณ์มุสลิมในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรมผ่านภาพยนตร์ของยาสมิน อะห์หมัด, โรสนี แกสมาน
การต่อรองอัตลักษณ์มุสลิมในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรมผ่านภาพยนตร์ของยาสมิน อะห์หมัด, โรสนี แกสมาน
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
งานวิจัยเรื่อง “การต่อรองอัตลักษณ์มุสลิมในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรมผ่านภาพยนตร์ของยาสมิน อะห์หมัด” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิหลังและแรงบันดาลใจที่ส่งผลต่อการสร้างสรรค์ผลงานภาพยนตร์ของยาสมิน อะห์หมัด และศึกษาการต่อรองอัตลักษณ์มุสลิมในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรมของประเทศมาเลเซียผ่านภาพยนตร์ของยาสมิน อะห์หมัด โดยวิเคราะห์บริบทของภาพยนตร์ จำนวน 6 เรื่อง ได้แก่ Rabun (2003) Sepet (2004) Gubra (2006) Mukhsin (2007) Muallaf (2008) และ Talentime (2009) ร่วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลใกล้ชิด นักวิชาการ และผู้เชี่ยวชาญด้านภาพยนตร์มาเลเซีย รวมทั้งศึกษาเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า ภูมิหลังและแรงบันดาลใจที่ส่งผลต่อการสร้างสรรค์ภาพยนตร์ของยาสมิน อะห์หมัด แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1) การเลี้ยงดูฟูมฟักจากครอบครัว 2) การศึกษาหลักธรรมคำสอนของศาสนาต่างๆ และ 3) สุนทรียภาพจากประสบการณ์ตรงและคนใกล้ชิด ส่วนการต่อรองอัตลักษณ์มุสลิมในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรมผ่านภาพยนตร์ของยาสมิน อะห์หมัด มี 3 คุณลักษณะ คือ 1) อัตลักษณ์มุสลิมที่สังคมคาดหวัง 2) อัตลักษณ์มุสลิมที่สังคมไม่พึงประสงค์ และ 3) อัตลักษณ์มุสลิมที่ประกอบสร้างขึ้นใหม่ โดยปรากฏใน 2 รูปแบบ คือ 1) การต่อรองกับมนุษย์ ได้แก่ การยืดหยุ่นต่อขนบธรรมเนียม วิถีปฏิบัติ และจารีตที่สังคมคาดหวัง ซึ่งมักปรากฏในเชิงกายภาพ และ 2) การต่อรองกับพระเจ้า ได้แก่ การกระทำสิ่งซึ่งขัดแย้ง หรือหมิ่นเหม่ต่อหลักการศาสนา โดยต่อรองกับหลักการและเงื่อนไขศาสนาภายใต้กรอบศีลธรรม มนุษยธรรม และการเอาตัวรอดจากสถานการณ์คับขันในชีวิต ซึ่งชี้ให้เห็นความหลากหลายของมุสลิมในด้านวิถีปฏิบัติที่มิได้มีเฉพาะด้านดีหรือชั่วเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการผสมผสานตัวตนเข้ากับเบ้าหลอมทางศาสนา ตำแหน่งแห่งที่ บทบาททางสังคมอันเชื่อมโยงกับกระแสโลกสมัยใหม่และการแลกรับวัฒนธรรมอื่นรอบตัว อัตลักษณ์มุสลิมที่ปรากฏจึงลื่นไหล แปรเปลี่ยน และถูกปรับปรุงเพื่อประยุกต์ให้เข้ากับแต่ละสถานการณ์ในชีวิต
การเปิดรับข่าวสารและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้งานสินทรัพย์ดิจิทัล ของกลุ่มผู้บริโภคเจเนอเรชันวาย, กฤตธี เปี่ยมสง่า
การเปิดรับข่าวสารและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้งานสินทรัพย์ดิจิทัล ของกลุ่มผู้บริโภคเจเนอเรชันวาย, กฤตธี เปี่ยมสง่า
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์สำรวจ การเปิดรับข่าวสารและอธิบายปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้งานสินทรัพย์ดิจิทัลของกลุ่มผู้บริโภคเจเนอเรชันวาย ใช้รูปแบบงานวิจัยเชิงปริมาณด้วยวิธีการวิจัยเชิงสำรวจ และเก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามออนไลน์ ผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริโภคเจเนอเรชันวาย จำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความถี่ในการเปิดรับข่าวสารสินทรัพย์ดิจิทัลผ่านสื่อไม่มีปฏิสัมพันธ์และสื่อมีปฏิสัมพันธ์ในระดับปานกลาง ความคาดหวังในประสิทธิภาพ ความคาดหวังในความพยายาม คุณค่าราคา การรับรู้ความเสี่ยง และการรับรู้ว่าน่าไว้วางใจ จัดอยู่ในระดับมาก มีเพียง อิทธิพลทางสังคม ที่จัดอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนความตั้งใจใช้สินทรัพย์ดิจิทัลของกลุ่มตัวอย่าง ในภาพรวมพบว่าจัดอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้งานสินทรัพย์ดิจิทัลของกลุ่มตัวอย่าง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้งานสินทรัพย์ดิจิทัล ได้แก่ ความคาดหวังในประสิทธิภาพ (ß = 0.334) การรับรู้ว่าน่าไว้วางใจ (ß = 0.261) และอิทธิพลทางสังคม (ß = 0.156) โดยสมการความสัมพันธ์สามารถอธิบายได้ร้อยละ 50.8 (R2 = 0.508)
บทบาทของตัวละครเจ้าหญิงดิสนีย์ในการเรียนรู้และสร้างอัตลักษณ์ของวัยรุ่นเพศหญิงในสังคมไทย, กฤติญา สาริกา
บทบาทของตัวละครเจ้าหญิงดิสนีย์ในการเรียนรู้และสร้างอัตลักษณ์ของวัยรุ่นเพศหญิงในสังคมไทย, กฤติญา สาริกา
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และตีความบทบาทและอัตลักษณ์ของตัวละครเจ้าหญิงดิสนีย์ที่มีต่อการเรียนรู้และประกอบสร้างอัตลักษณ์ของวัยรุ่นเพศหญิงในสังคมไทย เพื่อได้องค์ความรู้คุณค่าบทบาทและอัตลักษณ์ของตัวละครเจ้าหญิงดิสนีย์สามารถนำไปต่อยอดในการผลิตสื่อที่มีเนื้อหาเพื่อส่งเสริมทัศนคติที่เป็นประโยชน์และประยุกต์เข้ากับสื่อใหม่ๆ ตามกระแสโลกาภิวัตน์ในอนาคตอย่างเหมาะสม โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพประกอบด้วย การวิเคราะห์ตัวบท ทั้งภาพยนตร์กับบทบาทและอัตลักษณ์ของเจ้าหญิงดิสนีย์ด้วยการสัมภาษณ์แบบเชิงลึกจากผู้ให้เสียงพากย์ภาษาไทยของตัวละคร และการเรียนรู้โดยศึกษาจากแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบกับวัยรุ่นเพศหญิงกลุ่มเป้าหมายด้วยวิธีการสนทนากลุ่มรวมกับการเล่าเรื่องแบบอัตลักษณ์ ผลการวิจัยสรุปว่า บทบาทและอัตลักษณ์ของตัวละครเจ้าหญิงดิสนีย์เป็นส่วนในการสร้างการเรียนรู้ให้กับวัยรุ่นเพศหญิงในสังคมไทยตั้งแต่วัยเด็กเป็นต้นมาจากบทบาทและภาพพจน์ที่ตนสนใจและจดจำได้เกี่ยวกับ 1) เจ้าหญิงดิสนีย์มีความโดดเด่น 2) ชอบเพลงเจ้าหญิงดิสนีย์ 3) ความชื่นชอบในเจ้าหญิงดิสนีย์ 4) เจ้าหญิงดิสนีย์มีความเชื่อมโยงกับตนเอง 5) อยากเป็นเหมือนเจ้าหญิงดิสนีย์ 6) เจ้าหญิงดิสนีย์สร้างคุณค่าให้ โดยเลือกเลียนแบบบทบาทที่มีความใฝ่รู้ เดินทางออกไปเปิดโลกทัศน์ มีความกล้าหาญต่อสู้เพื่ออิสรภาพ และภาพพจน์เพียงบางส่วนประกอบสร้างเป็นส่วนหนึ่งของอัตลักษณ์ตนเองแล้วให้คุณค่าในการสร้างพลังบวกเพื่อใช้ชีวิตให้มีความสุข ในสังคมไทยควรจะมีการผลิตสื่อตัวละครเป็นแบบที่สร้างคุณค่าในลักษณะเจ้าหญิงดิสนีย์และให้ความสำคัญกับการรับรู้สื่อของเด็กเพื่อให้เติบโตมามีทัศนคติในเชิงบวกเป็นผลดีให้กับสังคม
การเล่าเรื่องและการสื่อสารค่านิยมในละครแนววิชาชีพของเกาหลีใต้, ชนาพร ธราวรรณ
การเล่าเรื่องและการสื่อสารค่านิยมในละครแนววิชาชีพของเกาหลีใต้, ชนาพร ธราวรรณ
Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีการเล่าเรื่องและการสื่อสารค่านิยมในละครแนววิชาชีพของเกาหลีใต้ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนางานสร้างสรรค์งานละครโทรทัศน์ประเทศไทยและเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับค่านิยมและวัฒนธรรมในละครโทรทัศน์ของเกาหลีใต้ ผ่านการศึกษาตัวบทประกอบกับการสัมภาษณ์เชิงลึกจากตัวแทนของผู้ชมหรือผู้เขียนรีวิวละครเกาหลีใต้และนักวิชาการด้านเกาหลีศึกษาเพื่อเพิ่มมุมมองในการวิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์ ผลการวิจัยพบว่าละครแนววิชาชีพของเกาหลีใต้การเล่าเรื่องมีการผสมผสานการเล่าเรื่องในรูปแบบที่หลากหลาย นอกเหนือจากการนำเสนอแนววิชาชีพเพียงอย่างเดียว มีการใช้ตัวละครนำที่เป็นเพศตรงกันข้ามเป็นหลักในการเผชิญกับปัญหา โดยไม่จำเป็นต้องมีความรักแบบชายหญิงเข้ามาเกี่ยวข้อง และมีการใช้สัญญะมาช่วยเข้าในสร้างตัวละคร รวมถึงใช้เรื่องราวภูมิหลังของตัวละครมาเป็นความสามารถในการปฏิบัติวิชาชีพ ในส่วนของการสื่อสารค่านิยมทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านปัจเจกและกลุ่ม ด้านครอบครัว ด้านเพศ และด้านการทำงาน พบว่ามีการสื่อสารผ่านกลวิธีการเล่าเรื่องผ่านบทสนทนาและตัวละครเป็นหลัก แต่มีการใช้กลวิธีการสื่อสารอื่นเข้ามาเพิ่มมิติในการสื่อสารคุณลักษณะของค่านิยม และคุณลักษณะของค่านิยมภายในละครส่วนมากยังคงสะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อดั้งเดิมจากลัทธิของขงจื๊อ แต่ได้นำเสนอมุมมองการเปลี่ยนแปลงผ่านยุคสมัยและการเปลี่ยนแปลงผ่านการสร้างสิทธิและทางเลือกให้กับตัวละคร โดยใช้วิชาชีพของตัวละครหลักเข้ามามีส่วนช่วยเพื่อชี้ให้เห็นถึงมุมมองที่แตกต่างเพื่อคลี่คลายสถานการณ์