Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Social and Behavioral Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Chulalongkorn University

Discipline
Keyword
Publication Year
Publication
Publication Type

Articles 781 - 810 of 5570

Full-Text Articles in Social and Behavioral Sciences

News Framing Of Thairath Newspapers On Migrant Workers From Cambodia, Laos, And Myanmar During The Covid-19 Pandemic, Nichakorn Phathanathavorn Jan 2022

News Framing Of Thairath Newspapers On Migrant Workers From Cambodia, Laos, And Myanmar During The Covid-19 Pandemic, Nichakorn Phathanathavorn

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This research examines the framing and representation of migrant workers from Cambodia, Laos, and Myanmar in Thai news coverage during the COVID-19 outbreak. Migrant workers from these countries constitute over 70% of the total migrant worker population in Thailand, playing a significant role in the country's economic growth. However, they reportedly face numerous challenges related to labor rights, access to health services, and social exclusion during the outbreak. This qualitative study examines 225 pieces of news reports, scoops/features, and editorial opinions in the Thairath newspaper—both print and online editions—during a specific timeframe in 2020 and 2021 that depict the coverage …


Thai Sentence Segmentation Using Large Language Models, Narongkorn Panitsrisit Jan 2022

Thai Sentence Segmentation Using Large Language Models, Narongkorn Panitsrisit

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Thai sentence segmentation has been on the topic of interest among Thai NLP communities. However, not much literature has explored the use of transformer-based large language models to tackle the issue. We conduct three experiments on the LST20 corpus, including (1) fine-tuning WangchanBERTa, a large language model pre-trained on Thai, across different classification tasks, (2) joint learning for clause and sentence segmentation, and (3) cross-lingual transfer using the multilingual model XLM-RoBERTa. Our findings show that WangchanBERTa outperforms other models in Thai sentence segmentation, and fine-tuning it with token and contextual information further improves its performance. However, cross-lingual transfer from English …


Human Rights Due Diligence: Roles And Contributions Of Sustainability Professional In Thailand, Pimpilai Rumthum Jan 2022

Human Rights Due Diligence: Roles And Contributions Of Sustainability Professional In Thailand, Pimpilai Rumthum

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This study examines the role of sustainability professionals in driving Human Rights Due Diligence (HRDD) within organizations and provides valuable insights into their responsibilities, competencies, and impact. As there was no study done to understand this particular career that tends to be trendy for sustainability businesses to achieve their goals beyond financial efficiency. The study examines the tasks, competencies, and impact of sustainability professionals from different viewpoints of related stakeholders. Using primary data gathered through semi-structured interviews, the research investigates the question that sustainability professionals positively contribute to HRDD processes. Through 9 interviews with key informants from diverse backgrounds, including …


Study On Nepalese Migrant Remittances: Usage, Gender Perspective And Remittance Methods, Tsering Diki Sherpa Jan 2022

Study On Nepalese Migrant Remittances: Usage, Gender Perspective And Remittance Methods, Tsering Diki Sherpa

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The study aims to shed light on remittance usage types and methods of remittance transfer to Nepalese migrant households. To achieve this, data from the Nepal Living Standards Survey III (NLSS III) was utilized, which comprises a sample size of 5,988 households selected from 499 primary sampling units (PSUs) included in the cross-sectional sample of the NLSS III survey. By analyzing and interpreting this data, the study investigates the allocation and utilization patterns of remittance funds by recipient households. It looks into their expense patterns, occupation types, destination countries, and how gender plays an active role in these dynamics. This …


Research On The Economic And Trade Relations Between China And Asean Rcep, Meng Li Jan 2022

Research On The Economic And Trade Relations Between China And Asean Rcep, Meng Li

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The trade cooperation between China and ASEAN has endured for nearly three decades, coinciding with a period of rapid global economic development and significant transformations among nations. Despite encountering numerous challenges, the collaboration between China and ASEAN has remained unwavering, leading to remarkable growth in both economies. Meanwhile,the Regional Comprehensive Economic Partnership(RCEP) signed by China and ASEAN can also more effectively promote bilateral economic and trade cooperation. However, with the changes in the international geopolitical situation, the acceleration of the reconstruction of the global value chain, and the intensification of the strategic game between major powers, there are more uncertainties …


Examining The New Asean Regional Order Shaped By Us-Chinese Strategic Competition-Through The Lens Of Health Security, Yichao Yang Jan 2022

Examining The New Asean Regional Order Shaped By Us-Chinese Strategic Competition-Through The Lens Of Health Security, Yichao Yang

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The strategic competition between China and the United States in the 21st century has changed the regional order in Asia, and the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN), as an important region in Asia, has also been affected. Since the end of the Cold War, global politics has begun to consider non-traditional security, including security issues related to the environment, public health, and culture. To understand how US-China competition affects ASEAN, this article will focus on public health security, especially during the COVID-19 pandemic. This paper analyzes some ways in which China and the United States cooperate and confront the …


Thailand Generation Z Consumers’ Brand Perception Of Bonchon Restaurantin Thailand, Aditep Jirattikorn Jan 2022

Thailand Generation Z Consumers’ Brand Perception Of Bonchon Restaurantin Thailand, Aditep Jirattikorn

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The present study is dedicated to investigating the Thailand generation z consumer’s brand perception of the brand Bonchon. This study aims to learn how generation z in Thailand perceives all aspects of the brand Bonchon in addition, this study also aims to cover whether Korean pop culture has an effect on how the consumer perceives the brand. Generation z participants in Thailand (n=227) who is a customer of Bonchon were asked to complete the questionnaire. The questionnaire is designed to discover respondents' cognitive, emotional, language, and actions toward the brand Bonchon. The research adopted certain theories on branding and consumer …


Perception Of Women Entrepreneurs On Social Media Use For Marketing Communication In Qatar, Aisha Ali A.T.Al-Khulaifi Jan 2022

Perception Of Women Entrepreneurs On Social Media Use For Marketing Communication In Qatar, Aisha Ali A.T.Al-Khulaifi

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This research aimed to understand the social media use of women entrepreneurs for marketing communication in Qatar. It is based on a qualitative approach, using an in-depth, semistructured interview. Participants were ten women entrepreneurs who have been running their businesses for at least six years, aged between 25 and 45. This research employed a question guideline as the research instrument based on five questions such as reasons for using social media for marketing, usage of social media for marketing, benefits, challenges, and professional benefits. The findings showed that the reasons for social media usage focus on ease of access and …


The Influence Of Perceived Risk And Perceived Value On Consumer Adoption Of Cryptocurrency, Athit Rodpangtiam Jan 2022

The Influence Of Perceived Risk And Perceived Value On Consumer Adoption Of Cryptocurrency, Athit Rodpangtiam

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The purpose of this research is to study the perceptions of risk and value of cryptocurrency adopters from the social media platform Reddit by assessing the influence of Perceived Risk (PR) and Perceived Value (PV) on their intention to adopt cryptocurrency. Demographic factors of (Gender, Age, Education Level, Income, Investment Experience) were analyzed as control variables. The study within this paper was conducted with a quantitative approach through the utilization of a survey technique. Data was gathered through purposive sampling, and 200 respondents from the Cryptocurrency News & Discussion subreddit were studied among a sample of 1444 respondents. The data …


East Asian Tourists’ Exposure To Social Media Advertising, Attitude, And Their Purchasing Behavior With Hotels In Bangkok, Chaitach Sirisachdecha Jan 2022

East Asian Tourists’ Exposure To Social Media Advertising, Attitude, And Their Purchasing Behavior With Hotels In Bangkok, Chaitach Sirisachdecha

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The ultimate goal of this research was to study the correlations between East Asian tourists' exposure to social media advertisements by hotels in Bangkok, their attitude toward the advertisements, and their purchasing behavior. The primary reason for conducting this study is the COVID-19 pandemic's effect on the hospitality industry within Bangkok and the expectation of an increase in the tourist population visiting Bangkok at the end of 2022 and the beginning of 2023. East Asian tourists were targeted for this study because they have historically been the demographic that had most visited Thailand. Two hundred respondents were requested to complete …


Consumers’ Perception And Loyalty Toward The Rebranding Of Double Goose Brand, Chutikarn Benjamapokai Jan 2022

Consumers’ Perception And Loyalty Toward The Rebranding Of Double Goose Brand, Chutikarn Benjamapokai

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The objective of this study was to explore consumers’ perceptions and loyalty toward the rebranding of Double Goose brand. This study employs qualitative research methods conducted via online application. With the selection criteria for data diversity, an in-depth interview was used to collect data from eight participants. The research participants are consumers of the Double Goose brand, aged between 20 - 40 years and divided into two groups. The first group is a loyal customers group that loyal to the goose brand and the second group is the new user group of the goose brand. This study uses the conceptual …


Source Characteristics, Attitude, And Purchase Intention Toward Fashion Product With Inclusive Advertising, Diskul Skuldist Jan 2022

Source Characteristics, Attitude, And Purchase Intention Toward Fashion Product With Inclusive Advertising, Diskul Skuldist

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This research was conducted in a quantitative manner. The research objectives were to explore and to test the relationships of source characteristics, attitudes toward inclusive advertising of fashion products and purchase intention toward fashion product with inclusive advertising among generation Z and Y with an inclusive model, Asianna Scott as a research subject. 213 respondents were acquired in total. The findings showed that Miss Scott received a positive score in all characteristics. The respondents indicated that they would have a positive attitude toward inclusive fashion advertising. The respondents also revealed that they would have a positive purchase intention toward fashion …


The Influence Of Perceived Value, User Engagement, And Emotions On Usage Intention Of Thai Tiktok Users, Phakkhaporn Dancharoenpol Jan 2022

The Influence Of Perceived Value, User Engagement, And Emotions On Usage Intention Of Thai Tiktok Users, Phakkhaporn Dancharoenpol

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The objectives of this research were to explore perceived value, user engagement, emotions, and usage intention of Thai TikTok users, as well as to investigate the influence of perceived value, user engagement, and emotions on TikTok usage intention. An online survey was employed to collect data from 289 participants who were TikTok users, aged between 18-38 years old. The findings showed that the respondents had high perceived value (M = 4.01), high engagement (M = 3.78), emotions (M = 3.75), and high usage intention (M = 3.97) towards TikTok. Furthermore, the results of the multiple regression analysis depicted that perceived …


Generation Z Consumers’ Behavior On Jones’ Salad’S Online Marketing Communications, Pitchaya Watcharodomprasert Jan 2022

Generation Z Consumers’ Behavior On Jones’ Salad’S Online Marketing Communications, Pitchaya Watcharodomprasert

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The objective of this research was to study consumer behavior on Jones’ Salad’s online marketing communications. Two hundred and thirty-eight people who are current customers purchasing Jones’ Salad once a month, exposed to the brand’s online marketing communications in the past three months, and aged between 18 and 25 years old residing in Thailand, were asked to complete online questionnaire survey. The findings in the cognitive part reveal that Jones’ Salad’s online platforms, especially Facebook and Instagram, are significant communication platforms among its Generation Z’s customers. The majority of the samples rely on Jones’ Salad online media for brand information. …


Perceived Image Of Samui Island From Local Stakeholders, Ponatip Phetrat Jan 2022

Perceived Image Of Samui Island From Local Stakeholders, Ponatip Phetrat

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The objective of this research was to explore the perceived image of Samui island from local stakeholders. An in-depth interview was selected as the research instrument for this study. The data is collected from 15 respondents who were local stakeholders of Samui island, they are those who live and work in Samui for more than 10 years, aged between 24-45 years old. The findings indicated that according to brand associations in terms of attributes the respondents perceived Samui island as “beach” “nature” and “cultural tourist destination” also, respondents perceived Samui as having “friendly” “lively” “complicated” and “easy-going” personalities. In terms …


The Relationship Between Source Credibility, Advertising Recognition, And Purchase Intention On Snack Products, Pornsit Cheawkamolpat Jan 2022

The Relationship Between Source Credibility, Advertising Recognition, And Purchase Intention On Snack Products, Pornsit Cheawkamolpat

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The objectives of this research were to study source credibility, advertising recognition, and purchase intention on snack products and was explore the relationship between source credibility, advertising recognition, and purchase intention oMaster of Arts (Communication Arts)n snack products. This research employed online survey and used online questionnaire to collect data through 208 respondents, who were Thai, aged between 18-38 years old, and must follow Kin Nhom page for the past three months. The results depicted that the respondents highly perceived that Kin Nhom page was credible (M = 4.14). Moreover, the respondents acknowledged that contents from Kin Nhom page were …


The Chinese Media Narrative Of Thailand As A Tourist Destination After The Legalization Of Cannabis (For Medical Purposes Or Health Concerns), Shuang Deng Jan 2022

The Chinese Media Narrative Of Thailand As A Tourist Destination After The Legalization Of Cannabis (For Medical Purposes Or Health Concerns), Shuang Deng

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Thailand, a world-renowned tourist destination, officially decriminalized cannabis (for medical purposes or health concerns) in June 2022. This policy has aroused widespread international attention and discussion. This study aims to analyze Chinese media narratives on the legalization of cannabis in Thailand and Chinese netizens' attitudes toward this policy. The research uses content analysis to analyze posts of 4 Chinese social media accounts related to Thailand (3 Mainland China, and 1 Thai-Taiwan). Posts about Thailand’s legalization of cannabis on Chinese social media Weibo from Jan 2022 - Oct 2022 are collected. Chinese media mostly adopted a neutral attitude when narrating the …


The Impact Of Oppo's Brand Equity On Purchasing Intentions Of Thai Consumers, Xiaoyuhui Yang Jan 2022

The Impact Of Oppo's Brand Equity On Purchasing Intentions Of Thai Consumers, Xiaoyuhui Yang

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Among the objective of this research are to study the brand equity and purchase intention of Oppo consumers and the relationship between brand equity and the purchase intention of Oppo consumers. The total number of participants in this study is two hundred and forty-two Thai consumers aged 18-45, who were required to complete the online questionnaire. The result portraited that, in general, Thai consumers’ perception toward the Oppo brand’s equity is positive with an average mean value (M = 3.25). There are four detentions under brand equity, esteem received the highest mean score (M = 3.4), and differentiation received the …


The Chinese People’S Intention To Participate In Livestream Environmental Marketing Communications Based On The Technology Acceptance Model (Tam), Yanfei Liu Jan 2022

The Chinese People’S Intention To Participate In Livestream Environmental Marketing Communications Based On The Technology Acceptance Model (Tam), Yanfei Liu

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The objective of the study is to study the effects of perceived usefulness (PU), perceived ease of use (PEU), and perceived enjoyment (PE) on Chinese people's intention to participate in Livestream (IPL) environmental marketing communications based on the Technology Acceptance Model (TAM). The study is conducted in a quantitative approach by using online questionnaires as a tool to collect data from 200 respondents who are Chinese, aged between 18 to 60 years old, and have watched the Livestream shopping video about green products before. The finding result shows that overall respondents have a high level of agreement with PU (M=4.04), …


ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้จุดจูงใจทางเพศ กับอารมณ์ ทัศนคติ และความตั้งใจสมัครสมาชิกของผู้บริโภคของสถานออกกำลังกาย, โกศล สรวมศรี Jan 2022

ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้จุดจูงใจทางเพศ กับอารมณ์ ทัศนคติ และความตั้งใจสมัครสมาชิกของผู้บริโภคของสถานออกกำลังกาย, โกศล สรวมศรี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยเชิงสำรวจในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การรับรู้จุดจูงใจทางเพศ อารมณ์ ทัศนคติ และความตั้งใจสมัครสมาชิกของผู้บริโภคของสถานออกกำลังกาย และ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้จุดจูงใจทางเพศ กับอารมณ์ ทัศนคติ และความตั้งใจสมัครสมาชิกของผู้บริโภคของสถานออกกำลังกาย โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลผ่านช่องทางออนไลน์จากกลุ่มตัวอย่าง อายุระหว่าง 23 – 42 ปี จำนวน 205 คน โดยเป็นผู้ที่มีการออกกำลังกายในฟิตเนสอย่างน้อย 2 ครั้ง ต่อสัปดาห์ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้จุดจูงใจทางเพศ อารมณ์ ทัศนคติ และความตั้งใจสมัครสมาชิกปานกลางค่อนไปทางมาก นอกจากนั้น การรับรู้จุดจูงใจทางเพศยังมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับอารมณ์ ทัศนคติ และความตั้งใจสมัครสมาชิกของผู้บริโภค กล่าวคือ ยิ่งกลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้จุดจูงใจทางเพศมากเพียงใด ก็จะยิ่งมีอารมณ์ ทัศนคติ และความตั้งใจสมัครสมาชิกในเชิงบวกเช่นเดียวกัน นอกจากนั้น กลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ใช้บริการฟิตเนสเป็นประจำ มีอารมณ์ในเชิงบวกมากกว่ากลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ใช้บริการฟิตเนสเป็นครั้งคราว


กระบวนการสร้างสรรค์และการเล่าเรื่องผ่านภาพยนตร์โฆษณาไทย ที่ได้รับการยกย่องในมาตรฐานระดับนานาชาติ Come Back 2021, ไอรดา ชูรัตน์ Jan 2022

กระบวนการสร้างสรรค์และการเล่าเรื่องผ่านภาพยนตร์โฆษณาไทย ที่ได้รับการยกย่องในมาตรฐานระดับนานาชาติ Come Back 2021, ไอรดา ชูรัตน์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการสร้างสรรค์ภาพยนตร์โฆษณาไทย ที่ได้รับการยกย่องในมาตรฐานระดับนานาชาติ 2) เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการเล่าเรื่องภาพยนตร์โฆษณาไทย ที่ได้รับการยกย่องในมาตรฐานระดับนานาชาติ 3) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยการสื่อสารที่เอื้อให้ภาพยนตร์โฆษณาไทย ได้รับการยกย่องในมาตรฐานระดับนานาชาติ จากการศึกษาภาพยนตร์โฆษณาไทย COME BACK 2021 ด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) บุคคลเบื้องหลังความสำเร็จรางวัลคานส์ ไลออนส์ (Cannes Lions) หมวดเอนเตอร์เทนเมนท์ (Entertainment) ได้แก่ นักสร้างสรรค์ (Creative) บริษัทตัวแทนโฆษณา TBWA Thailand ผู้กำกับจากสุเนต์ตา เฮ้าส์ และกรรมการตัดสินผลงานโฆษณาระดับนานาชาติ ประกอบกับการศึกษาข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า (1) กระบวนการสร้างสรรค์ภาพยนตร์โฆษณาที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของผลงานประกอบด้วย 1) ความเชื่อใจในการสร้างสรรค์ 2) จุดร่วมกันความคิดเห็นก่อนเริ่มกระบวนการ 3) การชี้นำแนวความคิดด้วยไอเดียที่แข็งแกร่ง 4) การตรวจสอบความคิดระหว่างการสร้างสรรค์ 5) การคัดเลือกผู้กำกับที่มีความเชี่ยวชาญ 6) การพัฒนาชิ้นงานตามความคิดเห็นของผู้กำกับ (2) รูปแบบการเล่าเรื่องภาพยนตร์โฆษณาประกอบด้วยลักษณะ 5 ต. 1) ตลกด้วยบทถ่ายทำและนักแสดง 2) แตกต่างจากแบรนด์คู่แข่ง 3) ตอบปัญหาผู้บริโภคด้วยสินค้า 4) ติดตามการเล่าเรื่องที่สร้างอารมณ์ร่วม 5) ตอกย้ำด้วยข้อความหลักแบรนด์ (3) ปัจจัยการสื่อสารที่เอื้อให้ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติประกอบด้วย 1) ถ่ายทอดความเชื่อของแบรนด์ที่ชัดเจน 2) มอบคุณค่าให้ผู้รับชม 3) ขายของอย่างมีศักยภาพ 4) สร้างอารมณ์ร่วมให้ผู้รับชม 5) คุณภาพการถ่ายทำ


พฤติกรรมการซื้อและปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสติกเกอร์ไลน์ของผู้หญิงวัยทำงาน, คุณากร จันทร์ไพศรี Jan 2022

พฤติกรรมการซื้อและปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสติกเกอร์ไลน์ของผู้หญิงวัยทำงาน, คุณากร จันทร์ไพศรี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อสำรวจพฤติกรรมการซื้อสติกเกอร์ไลน์ของผู้หญิงวัยทำงาน 2) เพื่อสำรวจปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสติกเกอร์ไลน์ของผู้หญิงวัยทำงาน 3) เพื่อสำรวจความตั้งใจซื้อสติกเกอร์ไลน์ของผู้หญิงวัยทำงาน 4) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสติกเกอร์ไลน์ของผู้หญิงวัยทำงานต่อความตั้งใจซื้อสติกเกอร์ไลน์ของผู้หญิงวัยทำงาน โดยเป็นวิธีวิจัยเชิงปริมาณ ใช้การวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างผู้หญิง ที่มีอายุระหว่าง 22-41 ปี และมีการซื้อสติกเกอร์ไลน์ อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อ 3 เดือน จำนวน 205 คน ผลการศึกษาพบว่า ผู้หญิงวัยทำงานมีความชื่นชอบสติกเกอร์ไลน์ในรูปแบบสไตล์น่ารัก และชอบคาแรคเตอร์สติกเกอร์ไลน์ แบบผู้หญิง และมีพฤติกรรมการซื้อสติกเกอร์ไลน์ โดยรวมอยู่ในระดับ มาก ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสติกเกอร์ไลน์ที่นำมาวิเคราะห์ 6 ปัจจัย ได้แก่ 1) ลักษณะเฉพาะของคาแรคเตอร์ 2) คุณค่าทางประโยชน์ใช้สอย 3) คุณค่าทางสังคม 4) คุณค่าทางอารมณ์ 5) ความพึงพอใจของผู้ซื้อ 6) ความภักดีของแบรนด์/ครีเอเตอร์ เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธ์ถดถอย พบว่า ตัวแปร 4 ตัวที่มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจซื้อสติกเกอร์ไลน์ของผู้หญิงวัยทำงาน เรียงลำดับจากค่ามากไปหาค่าน้อยที่สุด ประกอบด้วย ความพึงพอใจของผู้ซื้อ คุณค่าทางอารมณ์ ความภักดีที่มีต่อแบรนด์/ครีเอเตอร์ ลักษณะเฉพาะของคาแรคเตอร์ ขณะที่ตัวแปร อีก 2 ตัว ได้แก่ คุณค่าด้านประโยชน์ใช้สอย และคุณค่าทางสังคม ไม่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อสติกเกอร์ไลน์ของผู้หญิงวัยทำงาน


อิทธิพลของความน่าเชื่อถือของผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริงต่อพฤติกรรมผู้บริโภค, นลินนิภา เรืองธนากร Jan 2022

อิทธิพลของความน่าเชื่อถือของผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริงต่อพฤติกรรมผู้บริโภค, นลินนิภา เรืองธนากร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณด้วยวิธีการวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความน่าเชื่อถือของผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริง และพฤติกรรมผู้บริโภค (ทัศนคติต่องานโฆษณา ทัศนคติต่อตราสินค้า ความตั้งใจซื้อ) 2) วิเคราะห์อิทธิพลของความน่าเชื่อถือของผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริงต่อพฤติกรรมผู้บริโภค 3) อธิบายความสัมพันธ์ของทัศนคติต่องานโฆษณาที่ใช้ผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริงกับทัศนคติต่อตราสินค้า 4) อธิบายความสัมพันธ์ของทัศนคติต่องานโฆษณาที่ใช้ผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริงกับความตั้งใจซื้อ และ 5) อธิบายความสัมพันธ์ของทัศนคติต่อตราสินค้ากับความตั้งใจซื้อ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างชาวไทยจำนวนทั้งสิ้น 250 คน อายุระหว่าง 23-42 ปี และใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตโทรศัพท์มือถือของตราสินค้าเอไอเอส โดยผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างรับรู้ว่าผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริงมีความน่าเชื่อถือ (M = 3.84) มีทัศนคติต่อโฆษณาของตราสินค้าเอไอเอสในระดับค่อนข้างดี (M = 3.77) มีทัศนคติต่อตราสินค้าเอไอเอสในระดับค่อนข้างดี (M = 3.90) และมีความตั้งใจซื้อเอไอเอสในระดับค่อนข้างดี (M = 3.78) ความน่าเชื่อถือของผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริง ทั้งในด้านความเชี่ยวชาญ ความน่าไว้วางใจ และความน่าดึงดูดใจ มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = .75*) นอกจากนี้ยังพบว่า ความน่าดึงดูดใจเป็นมิติที่ส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคทั้งทัศนคติต่องานโฆษณา (β = .51*) ทัศนคติต่อตราสินค้า (β = .56*) และความตั้งใจซื้อมากที่สุด (β = .31*) อีกทั้งในด้านของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพฤติกรรมผู้บริโภคนั้น ทุกตัวแปรมีความสัมพันธ์กันทุกคู่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ไม่ว่าจะเป็น ทัศนคติต่องานโฆษณากับทัศนคติต่อตราสินค้า (r = .85*) ทัศนคติต่องานโฆษณากับความตั้งใจซื้อ (r = .51*) และทัศนคติต่อตราสินค้ากับความตั้งใจซื้อ (r = .57*)


พฤติกรรมการแสวงหาข้อมูล การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจในข้อมูลด้านกัญชาเพื่อการแพทย์ของผู้บริโภค, ศโรภาส น้อยศรี Jan 2022

พฤติกรรมการแสวงหาข้อมูล การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจในข้อมูลด้านกัญชาเพื่อการแพทย์ของผู้บริโภค, ศโรภาส น้อยศรี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจตัวแปรพฤติกรรมการแสวงหาข้อมูลด้านกัญชาเพื่อการแพทย์ของผู้บริโภค การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจในข้อมูลด้านกัญชาเพื่อการแพทย์ของผู้บริโภค โดยเจาะจงที่ด้านสื่อออนไลน์ซึ่งเป็นสื่อที่จำเป็นต้องใช้ความกระตือรือร้น และการอยากได้มาซึ่งข้อมูลในเชิงรุก และเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการแสวงหาข้อมูล และการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจในข้อมูลด้านกัญชาเพื่อการแพทย์ของผู้บริโภค โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ ด้วยวิธีวิจัยเชิงสำรวจ ด้วยการใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ประชากรของงานวิจัย คือ กลุ่มบุคคลทั่วไปที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป และเป็นผู้ที่มีการค้นหาข้อมูลด้านกัญชาเพื่อการแพทย์อย่างน้อย 1 ครั้ง ในช่วงเวลา 6 เดือนที่ผ่านมา จำนวน 205 คน และนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยโปรแกรม SPSS (Statistic Package for the social Sciences) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการแสวงหาข้อมูลด้านกัญชาเพื่อการแพทย์อยู่ในระดับบางครั้งบางคราว มีการใช้ประโยชน์ข้อมูลด้านกัญชาเพื่อการแพทย์นั้นอยู่ในระดับปานกลาง และมีความพึงพอใจในข้อมูลด้านกัญชาเพื่อการแพทย์อยู่ในระดับปานกลาง ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัยจำนวน 2 ข้อ ปรากฏดังนี้ พฤติกรรมการแสวงหาข้อมูล มีความสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์ข้อมูลด้านกัญชาเพื่อการแพทย์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 โดยมีความสัมพันธ์อยู่ในระดับสูง พฤติกรรมการแสวงหาข้อมูล มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในข้อมูลด้านกัญชาเพื่อการแพทย์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 โดยมีความสัมพันธ์อยู่ในระดับสูง


ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติและความตั้งใจซื้อเครื่องประดับโชคลางของผู้บริโภค, ศุภิสรา กรมขันธ์ Jan 2022

ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติและความตั้งใจซื้อเครื่องประดับโชคลางของผู้บริโภค, ศุภิสรา กรมขันธ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณด้วยวิธีการวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาบรรทัดฐานกลุ่ม การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน บุคลิกภาพแบบ 5 องค์ประกอบ ทัศนคติต่อเครื่องประดับโชคลาง และความตั้งใจซื้อเครื่องประดับโชคลางของผู้บริโภค 2. วิเคราะห์ปัจจัย (บรรทัดฐานกลุ่ม การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน และบุคลิกภาพแบบ 5 องค์ประกอบ) ที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติต่อเครื่องประดับโชคลาง และความตั้งใจซื้อเครื่องประดับโชคลางของผู้บริโภค 3. อธิบายความสัมพันธ์ของทัศนคติต่อเครื่องประดับโชคลางและความตั้งใจซื้อเครื่องประดับโชคลาง 4. อธิบายความสัมพันธ์ของบรรทัดฐานกลุ่มและบุคลิกภาพแบบ 5 องค์ประกอบ ของผู้บริโภค และ 5. อธิบายความสัมพันธ์ของการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอนและบุคลิกภาพแบบ 5 องค์ประกอบของผู้บริโภค โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ (Online questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มคนเจเนอเรชันวาย (Gen Y) ในประเทศไทย ที่มีอายุระหว่าง 23 - 42 ปี จำนวน 250 คน โดยผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญกับบรรทัดฐานกลุ่ม ในระดับปานกลาง (M = 3.62) มีการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอนในระดับสูง (M = 4.21) มีบุคลิกภาพแบบ 5 องค์ประกอบในระดับปานกลาง (M = 3.75) มีทัศนคติต่อเครื่องประดับโชคลางในระดับปานกลาง (M = 3.73) และมีความตั้งใจซื้อเครื่องประดับโชคลางในระดับปานกลาง (M = 3.63) ผลจากการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นแบบพหุพบว่า บรรทัดฐานกลุ่มและบุคลิกภาพแบบ 5 องค์ประกอบ มีอิทธิพลต่อทัศนคติ (β = 0.51 และ 0.26 ตามลำดับ) และต่อความตั้งใจซื้อเครื่องประดับโชคลางของผู้บริโภค (β = 0.49 และ 0.25 ตามลำดับ) ในขณะที่ การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอนมีอิทธิพลต่อทัศนคติและความตั้งใจซื้อเครื่องประดับโชคลางของผู้บริโภคอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ ยังพบว่า บรรทัดฐานกลุ่ม (r = 0.34) และการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน (r …


การรับรู้ข่าวสารอาชญากรรมทางเทคโนโลยีในรูปแบบวิธีหลอกรักออนไลน์ ทัศนคติต่อแอปพลิเคชันหาคู่ และพฤติกรรมการใช้งานของผู้บริโภค, อารยฤทธิ์ พรหมมะ Jan 2022

การรับรู้ข่าวสารอาชญากรรมทางเทคโนโลยีในรูปแบบวิธีหลอกรักออนไลน์ ทัศนคติต่อแอปพลิเคชันหาคู่ และพฤติกรรมการใช้งานของผู้บริโภค, อารยฤทธิ์ พรหมมะ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสำรวจการรับรู้ข่าวสารอาชญากรรมทางเทคโนโลยีในรูปแบบวิธีหลอกรักออนไลน์ของผู้บริโภค (2) เพื่อสำรวจทัศนคติของผู้บริโภคต่อแอปพลิเคชันหาคู่ (3) เพื่อสำรวจพฤติกรรมการใช้งานแอปพลิเคชันหาคู่ของผู้บริโภค โดยเก็บข้อมูลกับกลุ่มผู้บริโภคตัวอย่างทั้งเพศชาย เพศหญิง และเพศสภาวะอื่นๆ ที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป จำนวน 200 คน ในช่วงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2566 พบว่ากลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 31-35 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชนหรือห้างร้าน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 50,001 บาท โดยใช้งานแอปพลิเคชันหาคู่ออนไลน์ ช่วงเวลา 21.01 น. - 00.00 น. ใช้งานทุกสัปดาห์ แต่ละครั้งนาน 1-10 นาที การใช้งานมานาน 1 – 2 ปี และใช้งานตามที่พักอาศัยมากที่สุดนั้น มีการรับรู้ข่าวสารอาชญากรรมทางเทคโนโลยีในรูปแบบวิธีหลอกรักออนไลน์จากสื่อต่าง ๆ อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนทัศนคติต่อแอปพลิเคชันหาคู่ด้านความรู้และความเข้าใจอยู่ในระดับมาก ส่วนทัศนคติต่อแอปพลิเคชันหาคู่ด้านอารมณ์และความรู้สึกอยู่ในระดับมาก ทัศนคติต่อแอปพลิเคชันหาคู่ของแนวโน้มพฤติกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยส่วนพฤติกรรมการใช้งานแอปพลิเคชันหาคู่ออนไลน์ อยู่ในระดับมาก และการทดสอบสมมติฐานการวิจัยจากการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์ของการรับรู้ข่าวสารอาชญากรรมทางเทคโนโลยีในรูปแบบวิธีหลอกรักออนไลน์ ทัศนคติต่อแอปพลิเคชันหาคู่ และพฤติกรรมการใช้งานของผู้บริโภค มีความสัมพันธ์กัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01


การโหยหาอดีต การจดจำสินค้า และความตั้งใจซื้อสินค้าในเกมออนไลน์ของผู้บริโภคเจเนอเรชันวาย, อิทธิพัทธ์ ทรัพย์สันทัด Jan 2022

การโหยหาอดีต การจดจำสินค้า และความตั้งใจซื้อสินค้าในเกมออนไลน์ของผู้บริโภคเจเนอเรชันวาย, อิทธิพัทธ์ ทรัพย์สันทัด

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและอธิบายอิทธิพลของการโหยหาอดีตในเกมออนไลน์ พฤติกรรมการเล่นเกมออนไลน์ และการจดจำสินค้าในเกมออนไลน์ ที่มีต่อความตั้งใจซื้อสินค้าในเกมออนไลน์ของผู้บริโภคเจเนอเรชันวาย เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณโดยมีกลุ่มตัวอย่าง 200 คน เป็นผู้บริโภคเจเนอเรชันวายที่มีอายุระหว่าง 23 – 43 ปี ในพ.ศ. 2566 หรือเกิดในช่วงปี พ.ศ. 2523 – 2543 และเล่นเกมออนไลน์อย่างน้อย 10 ปีและยังคงเล่นอยู่ในปัจจุบัน ใช้แบบสอบถามออนไลน์ในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติอ้างอิงเพื่อทดสอบอิทธิพลของตัวแปรด้วยวิธีการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Linear Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า การโหยหาอดีตในเกมออนไลน์ของผู้บริโภคเจเนอเรชันวายอยู่ในระดับมากที่สุด ( x̅ = 4.22) การจดจำสินค้าในเกมออนไลน์อยู่ในระดับมาก ( x̅ = 3.79) ความถี่ในการเล่นเกมออนไลน์ในแต่ละครั้ง อยู่ในระดับมาก ( x̅ = 3.45) ระยะเวลาในการเล่นเกมออนไลน์ในแต่ละครั้ง อยู่ในระดับปานกลาง ( x̅ = 2.78) และความตั้งใจซื้อสินค้าในเกมออนไลน์อยู่ในระดับมาก ( x̅ = 3.69) ผลการทดสอบสมมติฐานสรุปได้ว่า การโหยหาอดีตในเกมออนไลน์ (β = 0.210) ระยะเวลาในการเล่นเกมออนไลน์ (β = 0.207) การจดจำสินค้าในเกมออนไลน์ (β = 0.202) และความถี่ในการเล่นเกมออนไลน์ (β = 0.167) มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าในเกมออนไลน์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05


การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามแผนพัฒนารายบุคคลต่อประสิทธิภาพในการดำเนินงานของพนักงานระดับปฏิบัติการวิชาชีพและปฏิบัติการทั่วไป กรณีศึกษา สถาบันพระปกเกล้า, เจษฎากร อรภักดี Jan 2022

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามแผนพัฒนารายบุคคลต่อประสิทธิภาพในการดำเนินงานของพนักงานระดับปฏิบัติการวิชาชีพและปฏิบัติการทั่วไป กรณีศึกษา สถาบันพระปกเกล้า, เจษฎากร อรภักดี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) ต่อประสิทธิภาพในการดำเนินงานของพนักงานระดับปฏิบัติการวิชาชีพและปฏิบัติการทั่วไป กรณีศึกษา สถาบันพระปกเกล้า มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพจากแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตาม (IDP) ของพนักงานระดับปฏิบัติการวิชาชีพและปฏิบัติการทั่วไป พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตาม IDP ของพนักงานระดับปฏิบัติการวิชาชีพและปฏิบัติการทั่วไป เพื่อให้สอดคล้องกับคุณลักษณะของแต่ละตำแหน่งงานในการเตรียมความพร้อมสำหรับความก้าวหน้าในสายอาชีพ โดยการศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพผ่านการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้คำถามแบบกึ่งโครงสร้าง เพื่อสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างคือพนักงานระดับปฏิบัติการวิชาชีพและปฏิบัติการทั่วไป และผู้บริหารที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนด IDP และปฏิบัติงานร่วมกันภายในสถาบัน จากผลการศึกษา พบว่าการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตาม IDP ของพนักงานระดับปฏิบัติการวิชาชีพและปฏิบัติการทั่วไปส่งผลต่อการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพในการดำเนินงานตาม IDP ของสถาบันพระปกเกล้า โดยพนักงานมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเรียนรู้ได้ตามวัตถุประสงค์ของการอบรม มีความรู้และเข้าใจต่องานที่รับผิดชอบอยู่ หรือมีความรู้ความเข้าใจต่อเรื่องที่เข้ารับการอบรมมากขึ้น สามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ในการทำงานได้อย่างเหมาะสม และสามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ที่ได้จากการอบรมให้กับบุคคลอื่นหรือผู้ร่วมงานได้ ซึ่งมีปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพตามเกณฑ์ IDP ดังกล่าวคือ 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระยะเวลาในการทำงาน และระดับการศึกษา เนื่องจากการสะสมประสบการณ์การศึกษา ความรู้ความสามารถ ความถนัดต่าง ๆ ที่ผ่านในอดีตมาเข้ามามีส่วนช่วยในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ 2) ปัจจัยที่ได้รับมาจากงาน ได้แก่ ชนิดของงาน และสถานภาพทางอาชีพ เนื่องจากหากพนักงานต้องการที่จะมีสถานภาพทางอาชีพที่ดีหรือการเลื่อนระดับตำแหน่งงาน พนักงานต้องปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด เพื่อให้ได้รับการประเมินผลปฏิบัติการที่สูงขึ้นตามที่คาดหวังจากผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชา และ 3) ปัจจัยที่ควบคุมได้โดยฝ่ายบริหาร ได้แก่ ความมั่นคงทางรายได้ สวัสดิการ และโอกาสก้าวหน้าในงาน เนื่องจากปัจจัยที่ควบคุมได้โดยฝ่ายบริหารนั้น มีระเบียบข้อบังคับที่ชัดเจนเพื่อเป็นเกณฑ์ในการกำหนดอัตราเงินเดือน และโอกาสก้าวหน้าในงาน ซึ่งผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชาจะเป็นผู้ประเมินผลการปฏิบัติงานตามประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในแต่ละปีของพนักงาน นอกจากนี้ จากผลการศึกษา ผู้วิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตาม IDP คือ ในด้านการมีส่วนร่วม ผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชาและพนักงานควรกำหนด IDP ร่วมกันตามคู่มือแผนพัฒนาบุคลากรสถาบันพระปกเกล้าเพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อีกทั้ง พนักงานควรศึกษาคู่มือแผนพัฒนาบุคลากร เพื่อให้ทราบแผนการอบรมรายบุคคลตามกลุ่มของตนเอง อันจะนำไปสู่การวางแผนพัฒนารายบุคคลร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ


แนวทางการส่งเสริมสำนักงานจังหวัดนำระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (E-Saraban) ของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยมาใช้ให้เป็นแนวทางเดียวกัน, เนตรชนก สุขสวัสดิ์ Jan 2022

แนวทางการส่งเสริมสำนักงานจังหวัดนำระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (E-Saraban) ของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยมาใช้ให้เป็นแนวทางเดียวกัน, เนตรชนก สุขสวัสดิ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยเรื่อง แนวทางการส่งเสริมสำนักงานจังหวัดนำระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (e-Saraban) ของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยมาใช้เป็นแนวทางเดียวกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการและรูปแบบการใช้ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ปัญหาและอุปสรรคการส่งเสริมการใช้ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์เต็มรูปแบบ และเพื่อหาแนวทางส่งเสริมให้สำนักงานจังหวัดทุกแห่งนำเอาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์มาใช้อย่างครบวงจร งานศึกษามีระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) จำนวน 12 คน ผลการศึกษาพบว่า การรับ-ส่งเอกสารผ่านระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์แบ่งเป็น 2 ระบบ ได้แก่ ระบบการรับ-ส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยกับสำนักงานจังหวัด และระบบการรับ-ส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างสำนักงานจังหวัดกับหน่วยงานภายในจังหวัด ปัจจุบันมีสำนักงานจังหวัด 20 แห่ง ได้ใช้ระบบการรับ-ส่งอย่างเต็มรูปแบบ ขณะที่สำนักงานจังหวัด 56 แห่ง ได้พัฒนาระบบรับ-ส่งเอกสารผ่านระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของตนเอง การผลักดันจากผู้นำองค์กรเป็นเงื่อนไขสำคัญที่ส่งเสริมให้เกิดการใช้ระบบรับ-ส่งเอกสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบครบวงจร สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยควรมีกลไกผลักดันในกรณีที่ไม่ได้มีการใช้ระบบแบบครบวงจร โดยจัดตั้งทีมงานด้านเทคนิคจากส่วนกลางสนับสนุนสำนักงานจังหวัด รวมทั้งกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จในการพัฒนาระบบรับ-ส่งเอกสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างครบวงจร


ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชนในพื้นที่เขตเมือง ตามแนวทางของกรมการพัฒนาชุมชน, เบญญาทิพย์ ทองคำ Jan 2022

ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชนในพื้นที่เขตเมือง ตามแนวทางของกรมการพัฒนาชุมชน, เบญญาทิพย์ ทองคำ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการดำเนินงานและบริหารจัดการศูนย์จัดการกองทุนชุมชนในพื้นที่เขตเมือง และเพื่อศึกษาปัจจัยความสำเร็จของศูนย์จัดการกองทุนชุมชนในพื้นที่เขตเมือง ในการบริหารจัดการหนี้ งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเลือกศึกษาศูนย์จัดการกองทุนชุมชนจำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านสุขสวัสดิ์ อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ และศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านคลองฝรั่ง อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี เนื่องจากเป็นศูนย์จัดการกองทุนชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นศูนย์จัดการกองทุนชุมชนดีเด่นในระดับจังหวัด ผู้ให้ข้อมูลหลักได้แก่ ประธานและคณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชน พัฒนาการอำเภอ นักวิชาการผู้รับผิดชอบประจำตำบล สมาชิกครัวเรือนที่เข้าสู่กระบวนการบริหารจัดการหนี้ และผู้ทรงคุณวุฒิในหมู่บ้านหรือชุมชน ผลการวิจัยพบว่า ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนในพื้นที่เขตเมือง มีแนวทางการบริหารงานจัดการศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ดังนี้ 1) ด้านคณะกรรมการ โดยการคัดเลือกใน มติที่ประชุมของประชาชนหรือสมาชิกของแต่ละกลุ่มกองทุน 2) ด้านสมาชิก จะเป็นสมาชิกในรูปแบบของกลุ่มกองทุนที่อยู่ในชุมชน สมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิก 3) มีกิจกรรมหลัก คือ การบริหารจัดการหนี้ให้กับสมาชิกของกลุ่มกองทุนต่าง ๆ 4) ระเบียบข้อบังคับ โดยใช้แนวทางที่กรมการพัฒนาชุมชนกำหนด และปัจจัยความสำเร็จของศูนย์จัดการกองทุนชุมชนทั้ง 2 แห่ง ดังนี้ 1) ภาวะผู้นำ คณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชนได้รับการยอมรับจากสมาชิก มีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงาน 2) การมีส่วนร่วม ประชาชนให้ความร่วมมือ และสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์จัดการกองทุนชุมชน 3) การบริหารจัดการที่ดี มีระเบียบข้อบังคับที่สมาชิกร่วมกันปฏิบัติตาม และ 4) การได้รับการสนับสนุนจากภายนอก ทั้งการติดตามดูแลโดยสำนักงานพัฒนาชุมชน และการได้รับงบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานภาคราชการ และรัฐวิสาหกิจ