Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Social and Behavioral Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

2019

Discipline
Institution
Keyword
Publication
Publication Type
File Type

Articles 26611 - 26640 of 31912

Full-Text Articles in Social and Behavioral Sciences

Urban Care Stations, Homelessness Research & Action Collaborative, Portland State University Jan 2019

Urban Care Stations, Homelessness Research & Action Collaborative, Portland State University

Homelessness Research & Action Collaborative Publications and Presentations

Hygiene, waste and sanitation in the Portland metropolitan region is a broad and complex topic that relates to homelessness as a primary field, but stretches to other scenarios. The need for improving and increasing access to restrooms, showers and laundry facilities in Portland has been documented and proven through interviews and research. Due to its complex nature, multiple potential solutions to address accessibility have been explored (and some are already in place). These solutions lay at different scales (from neighborhood level to region level), include different hygiene services (from toilets to storage), and involve different stakeholders for their creation and …


Kenton Women’S Village Update And Survey, Marta Petteni, Emily Leickly Jan 2019

Kenton Women’S Village Update And Survey, Marta Petteni, Emily Leickly

Homelessness Research & Action Collaborative Publications and Presentations

Homeless shelters can be chaotic and sometimes not much better than living on the streets. Sleeping pod villages, such as Kenton Women’s Village, provide opportunities for community development while still allowing privacy and security. The village model provides a more incremental transition into permanent housing from the streets rather than a sudden transition. This report provides an update on the village and results of a survey that explored physical health, mental health, demographic information, and level of satisfaction with village living.


Collaborative Planning And Equity, Sarah Mercurio Jan 2019

Collaborative Planning And Equity, Sarah Mercurio

Homelessness Research & Action Collaborative Publications and Presentations

Our research on collaborative planning and equity attempts to understand how collaborative planning and policy decisions are made, and to pinpoint where an equity lens might transform normative procedures into a practice of anti-oppression, agonism, and advocacy.

Collaborative planning is a dominant theory in planning in which multiple stakeholders come together to deliberate on common concerns and apply consensus building and public participation methods to make policy decisions. The approach seeks to balance power among participants and increase public engagement.


Perceptions Of Health Coaching And Its Associations With Personality Style And Weight Loss In Meal Replacement Program Participants, Bailey Judith Larson Jan 2019

Perceptions Of Health Coaching And Its Associations With Personality Style And Weight Loss In Meal Replacement Program Participants, Bailey Judith Larson

Electronic Theses and Dissertations

Purpose: To determine if personality style is related to perceptions of health coaching and if there is a relationship between perceptions of health coaching and the ability to lose weight. Methods: Data was gathered from approximately 2,000 MR program participants via an electronic survey. The Client Evaluation of Motivational Interviewing scale was used to determine if perceptions of health coaching affect the ability to lose weight. The Ten Item Personality Inventory was used to determine if personality style is associated with the perception of health coaching. Self-reported start weight and current weight were used to calculate percent of starting weight. …


The Role Of A Community Coach In Rural Food Councils In Six Midwestern States, Kaitlyn Tusha Jan 2019

The Role Of A Community Coach In Rural Food Councils In Six Midwestern States, Kaitlyn Tusha

Electronic Theses and Dissertations

Objective: To quantitatively assess perceived coaching confidence of a community coach working with food councils, and to qualitatively determine perceived barriers and facilitators associated with coaching rural food councils.
Design: Two phases were implemented using a mixed methods study design with quantitative (scorecard) and qualitative (key informant interviews) methodologies.
Setting: Six rural, Midwestern states implementing Voices for Food.
Participants: Voices for Food community coaches (n=9) who coached rural food council(s).
Intervention: A component of the broader Voices for Food intervention.
Analysis: Quantitative scorecard data were analyzed with STATA by running paired ttests. Qualitative key information interview data were analyzed with …


The Relationship Between Campus Wellness Center Usage And Symptoms Of Depression In College Freshmen, Allison Leonard Jan 2019

The Relationship Between Campus Wellness Center Usage And Symptoms Of Depression In College Freshmen, Allison Leonard

Electronic Theses and Dissertations

There is limited research done on the relationship between the program utilization at a campus wellness facility and the symptoms of depression in college freshmen. College students have been found to have a higher prevalence of depressive symptoms than the general population, possibly due to the stressors college life can add. Studies have been done on the effects of physical activity as an intervention for depression as well as on the benefits of campus wellness facilities; however, there have been few studies that look at both campus recreation and depression. The author’s purpose for this study was to see if …


Undoing Gender: An Analysis Of How Women Communicate Within The Agricultural Industry, Shala R. Larson Jan 2019

Undoing Gender: An Analysis Of How Women Communicate Within The Agricultural Industry, Shala R. Larson

Electronic Theses and Dissertations

In recent history, women have entered more business-like positions in the agricultural industry. This thesis seeks to understand how women in agriculture describe their workplace communication and whether they feel they are part of a muted group. Twelve women were interviewed regarding their experiences as women in agriculture and were asked whether they feel valued in their positions and how they communicate with their male co-workers. Specifically, interviewees were asked if they ever felt the need to alter their communication to complement, emulate, or otherwise adjust to masculine communication styles. The majority of women interviewed reported having to strategically choose …


Our Stigmatized American Heroes: Examining How Veterans With Ptsd Communicatively Manage Stigma, Rikki A. Roscoe Jan 2019

Our Stigmatized American Heroes: Examining How Veterans With Ptsd Communicatively Manage Stigma, Rikki A. Roscoe

Electronic Theses and Dissertations

Mental health conditions are arguably the most prominent disabling medical condition that military service members endure. Veterans with combat-related PTSD often refrain from seeking mental health treatment due to the stigma attached. Concealing PTSD or attempting to cope without professional help can lead to extreme and lifethreatening consequences including depression, substance abuse, and suicide. Attaining a better understanding of stigma management strategies is important because it has the ability to help veterans better manage stigma in the future. Thus, the current study uses stigma management communication theory (Meisenbach, 2010) to uncover the ways in which veterans with PTSD communicatively manage …


Make The Inaugural Great Again: A Rhetorical Analysis Of Donald J. Trump’S Inaugural Address, Danielle F. Dickerson Jan 2019

Make The Inaugural Great Again: A Rhetorical Analysis Of Donald J. Trump’S Inaugural Address, Danielle F. Dickerson

Electronic Theses and Dissertations

In this thesis, I utilized three distinct theories (ideographs, dramatism, and the bully pulpit) to rhetorically analyze and assess President Trump’s 2017 inaugural address. Ultimately, I analyzed whether Trump deviated from Campbell and Jamieson’s (1985) presidential inaugural expectations. While the presidential inaugural address was the only text analyzed, implications were drawn from Trump’s rhetoric leading up to and within the inaugural. This thesis also analyzed Trump’s rhetoric through social media, specifically Twitter, and looked at the context surrounding the inaugural. I suggest, through my research, that Trump does deviate from the traditional framework of the inaugural address, and ultimately modernized …


Analysis Of Factors Influencing College Choice Decisions Of Mid-Major Ncaa Division I Swimmers, Kaden Huntrods Jan 2019

Analysis Of Factors Influencing College Choice Decisions Of Mid-Major Ncaa Division I Swimmers, Kaden Huntrods

Electronic Theses and Dissertations

Student-athletes face an ever-increasing challenge of selecting a higher education institution that meets their desired criteria academically and athletically. Coaches and recruiters have sought to discover how to best recruit student-athletes over the history of college athletics. Understanding these factors can assist coaches and athletes to create athletic programs to best fit the desired student-athletes. This study examined the factors that influence the college selection process of mid-major NCAA Division I, male and female swimmers. The instrument utilized in this study was the Student Athlete College Choice Profile Survey (SACCPS). The participants included 141 student-athletes from seven mid-major NCAA Division …


Entropy Of Polysemantic Words For The Same Part Of Speech, Mihaela Colhon, Florentin Smarandache, Dan Valeriu Voinea Jan 2019

Entropy Of Polysemantic Words For The Same Part Of Speech, Mihaela Colhon, Florentin Smarandache, Dan Valeriu Voinea

Branch Mathematics and Statistics Faculty and Staff Publications

In this paper, a special type of polysemantic words, that is, words with multiple meanings for the same part of speech, are analyzed under the name of neutrosophic words. These words represent the most difficult cases for the disambiguation algorithms as they represent the most ambiguous natural language utterances. For approximate their meanings, we developed a semantic representation framework made by means of concepts from neutrosophic theory and entropy measure in which we incorporate sense related data. We show the advantages of the proposed framework in a sentiment classification task.


Trade And Industrialisation In Africa: Smes, Manufacturing And Cluster Dynamics, Raphael Kaplinsky, Mike Morris Jan 2019

Trade And Industrialisation In Africa: Smes, Manufacturing And Cluster Dynamics, Raphael Kaplinsky, Mike Morris

Journal of African Trade

No abstract provided.


Trade Reforms And Integration Of Cocoa Farmers Into World Markets: Evidence From African And Non-African Countries:, Komi Tsowou, Samuel K. Gayi Jan 2019

Trade Reforms And Integration Of Cocoa Farmers Into World Markets: Evidence From African And Non-African Countries:, Komi Tsowou, Samuel K. Gayi

Journal of African Trade

No abstract provided.


How Do Trade Margins Respond To Exchange Rate? The Case Of Egypt1, Chahir Zaki, Alia Abdallah, May Sami Jan 2019

How Do Trade Margins Respond To Exchange Rate? The Case Of Egypt1, Chahir Zaki, Alia Abdallah, May Sami

Journal of African Trade

No abstract provided.


การสื่อสารบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบของพนักงานขายเครื่องสำอางและพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค, สาธิดา สื่อประเสริฐสุข Jan 2019

การสื่อสารบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบของพนักงานขายเครื่องสำอางและพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค, สาธิดา สื่อประเสริฐสุข

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อการสื่อสารบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบของพนักงานขายเครื่องสำอาง พฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางของผู้บริโภคและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติของผู้บริโภคต่อการสื่อสารบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบของพนักงานขายเครื่องสำอางกับพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพศชายและหญิง อายุระหว่าง 18-40 ปี จำนวน 204 คน ผลวิจัยพบว่า ทัศนคติของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบของพนักงานขายเครื่องสำอางในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยบุคลิกภาพแบบแสดงตัว แบบประนีประนอม แบบมีจิตสำนึกและแบบหวั่นไหวอยู่ในระดับมากที่สุด นอกจากนี้ ระดับความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับความต้องการซื้อเครื่องสำอางของผู้บริโภค ตามกระบวนการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาตามแต่ละขั้นตอนพบว่า ขั้นการประเมินทางเลือก และขั้นการประเมินหลังการซื้ออยู่ในระดับมากที่สุด จากการทดสอบสมมติฐาน ทัศนคติของผู้บริโภคต่อการสื่อสารบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบของพนักงานขายเครื่องสำอางมีความสัมพันธ์กับความต้องการซื้อของผู้บริโภคไปในทิศทางเดียวกัน อยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของบุคลิกภาพแต่ละแบบของพนักงานขายเครื่องสำอางกับความต้องการซื้อของผู้บริโภค บุคลิกภาพแบบแสดงตัว แบบประนีประนอม แบบมีจิตสำนึก แบบเปิดรับประสบการณ์ มีความสัมพันธ์กับความต้องการซื้อของผู้บริโภคไปในทิศทางเดียวกัน


ปัจจัยการต่ออายุงานของผู้สูงอายุในองค์การ : กรณีศึกษา สำนักงานมหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กานติมา วนิชดำรงค์ศักดิ์ Jan 2019

ปัจจัยการต่ออายุงานของผู้สูงอายุในองค์การ : กรณีศึกษา สำนักงานมหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กานติมา วนิชดำรงค์ศักดิ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการต่ออายุงานหรือการจ้างงานผู้สูงอายุในตำแหน่งที่ปรึกษาของส่วนงาน โดยสถาบันทางการศึกษาเป็นองค์การที่ผู้วิจัยได้สนใจและเลือกศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่นำมาใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ พนักงานมหาวิทยาลัย สายปฏิบัติการ ระดับหัวหน้าหน่วยงานขึ้นไปที่สังกัดสำนักงานมหาวิทยาลัย จำนวน 36 ส่วนงาน งานวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ทำการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ สำหรับเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์ที่มีข้อคำถามลักษณะปลายเปิดและปลายปิด ซึ่งแบ่งสองส่วนหลัก ๆ คือ ส่วนที่เป็นข้อมูลการต่ออายุงานหรือการจ้างงานผู้สูงอายุในองค์การ และส่วนที่เป็นปัจจัยและอุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับการต่ออายุงานหรือการจ้างงานผู้สูงอายุ ผลการศึกษาพบว่า ในปัจจุบันส่วนงานยังไม่มีการต่ออายุงานของผู้สูงอายุ เนื่องจากยังขาดระเบียบบางประการมารองรับ แต่มีการจ้างงานผู้สูงอายุในตำแหน่งที่ปรึกษาของส่วนงานเป็นรายกรณี และสำหรับปัจจัยที่ส่งผลมากที่สุดต่อการจ้างงานผู้สูงอายุคือ องค์ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ของผู้สูงอายุ ส่วนอุปสรรคที่ส่งผลต่อการจ้างงานผู้สูงอายุมากที่สุด คือ ปัญหาทางด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ


ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมทางการเงินและเป้าหมายการออมในผู้ใหญ่วัยเริ่ม, กอข้าว เพิ่มตระกูล Jan 2019

ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมทางการเงินและเป้าหมายการออมในผู้ใหญ่วัยเริ่ม, กอข้าว เพิ่มตระกูล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมทางการเงิน กับเป้าหมายการออมเงินที่สามารถสะท้อนถึงความต้องการของบุคคลตามทฤษฎีของ Maslow โดยเก็บข้อมูลในผู้ใหญ่วัยเริ่มที่มีอายุระหว่าง 18-29 ปี จำนวน 165 คน ที่มีงานทำและมีรายได้ประจำ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามเป้าหมายการออมในผู้ใหญ่วัยเริ่ม และแบบสอบถามพฤติกรรมทางการเงิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการถดถอยเชิงขั้น (hierarchical regression analysis) ผลวิจัยพบว่า การตั้งเป้าหมายการออมเงินเพื่อความต้องการด้านความปลอดภัยและความมั่นคง และการตั้งเป้าหมายการออมเงินเพื่อความต้องการด้านการเข้าถึงศักยภาพตนเอง สามารถทำนายพฤติกรรมทางการเงินของผู้ใหญ่วัยเริ่มได้มากที่สุด รองลงมาคือการตั้งเป้าหมายการออมเงินเพื่อความต้องการด้านความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า ส่วนการตั้งเป้าหมายการออมเงินเพื่อความต้องการด้านการอยู่รอดทางร่างกาย/ดำรงชีวิต และการตั้งเป้าหมายการออมเงินเพื่อความต้องการด้านความรักและการเป็นส่วนหนึ่งของผู้อื่น ไม่สามารถทำนายพฤติกรรมทางการเงินได้


ความสัมพันธ์ระหว่างความจำใช้งาน การควบคุมพฤติกรรมตนเอง การคิดอย่างยืดหยุ่นและความซึมเศร้าโดยมีการหมกมุ่นครุ่นคิดเป็นตัวแปรส่งผ่าน, สิริพร รังสิตเสถียร Jan 2019

ความสัมพันธ์ระหว่างความจำใช้งาน การควบคุมพฤติกรรมตนเอง การคิดอย่างยืดหยุ่นและความซึมเศร้าโดยมีการหมกมุ่นครุ่นคิดเป็นตัวแปรส่งผ่าน, สิริพร รังสิตเสถียร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความจำใช้งาน การควบคุมพฤติกรรมตนเอง การคิดอย่างยืดหยุ่น และความซึมเศร้าโดยมีการหมกมุ่นครุ่นคิดเป็นตัวแปรส่งผ่าน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี จำนวน 100 คน ทั้งนี้เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น (α= .87) มาตรวัดการหมกมุ่นครุ่นคิด (α= .983) แบบทดสอบการทวนกลับตัวเลข มาตรวัดการควบคุมตนเอง (α= .83) และมาตรวัดการคิดอย่างยืดหยุ่น (α= .873) และวิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (structural equation model) ในการวิเคราะห์ผลข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า ความจำใช้งาน การคิดอย่างยืดหยุ่นไม่มีความสัมพันธ์กับการหมกมุ่นครุ่นคิด โดยมีค่าอยู่ที่ -0.08 และ -0.12 ตามลำดับ ในขณะที่การควบคุมพฤติกรรมตนเองมีความสัมพันธ์ทางลบต่อการหมกมุ่นครุ่นคิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (B= -0.439,p<0.001) และเมื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความจำใช้งาน การควบคุมพฤติกรรมตนเอง การคิดอย่างยืดหยุ่น และความซึมเศร้า พบว่า ความจำใช้งาน การควบคุมพฤติกรรมตนเอง การคิดอย่างยืดหยุ่นไม่มีความสัมพันธ์ทางลบต่อความซึมเศร้า แต่การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการหมกมุ่นครุ่นคิดและความซึมเศร้า พบว่ามีความสัมพันธ์ทางบวกกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(B=0.757,p<0.001) อย่างไรก็ตามการวิเคราะห์โมเดลความสัมพันธ์โดยให้การหมกมุ่นครุ่นคิดเป็นตัวแปรส่งผ่าน พบอิทธิพลส่งผ่านที่มีนัยสำคัญทางสถิติของการหมกมุ่นครุ่นคิด ที่ส่งผ่านความสัมพันธ์ระหว่างการควบคุมพฤติกรรมตนเองและความซึมเศร้า


Table Of Contents Jitim Vol 27 Issue 4, 2018-2019 Jan 2019

Table Of Contents Jitim Vol 27 Issue 4, 2018-2019

Journal of International Technology and Information Management

ToC JITIM - Special Issue on ICT4D


What's In Your Cup? Increasing Transparency And Confidence In Alcohol Use Screening And Brief Intervention, Dylan C. Koundakjian Jan 2019

What's In Your Cup? Increasing Transparency And Confidence In Alcohol Use Screening And Brief Intervention, Dylan C. Koundakjian

Family Medicine Clerkship Student Projects

19% of Vermonters report drinking alcohol at levels which puts their health at risk, but many healthcare providers do not feel confident in addressing their patients' usage. This can stem from lack of experience with alcohol use, worries about stigma, and time constraints. However, data has shown that even 5-15 minute interventional conversations can significantly reduce a patient's risky drinking. This project aims to provide real-world, practical advice for having conversations around alcohol, and provides a conversion chart converting popular alcoholic beverages into standard drink equivalents.


ทัศนคติ ความพึงพอใจ และแนวโน้มพฤติกรรมของผู้บริโภคต่อการให้บริการตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภค (C2c), ไวยกรณ์ จริตไวทย์ Jan 2019

ทัศนคติ ความพึงพอใจ และแนวโน้มพฤติกรรมของผู้บริโภคต่อการให้บริการตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภค (C2c), ไวยกรณ์ จริตไวทย์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวแปรพยากรณ์ที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อของผู้บริโภคต่อการให้บริการตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภค (C2C) โดยมีปัจจัยที่ใช้ศึกษา 3 ปัจจัย ได้แก่ 1. ทัศนคติต่อการสื่อสารตลาดแบบบูรณาการ (IMC) 2. ความพึงพอใจต่อบริการหลังการขาย และ 3. การมีส่วนร่วมของผู้บริโภค โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจด้วยการเก็บข้อมูลแบบสอบถามออนไลน์ กับกลุ่มตัวอย่างอายุระหว่าง 25-49 ปี เป็นผู้เคยซื้อสินค้าออนไลน์จากผู้ขายรายย่อยผ่านผู้ให้บริการตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) แบบการเลือกตัวแปรโดยวิธีเพิ่มตัวแปรอิสระแบบขั้นตอน (Stepwise Regression) ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อบริการหลังการขายมากที่สุด โดยพึงพอใจมากต่อเงื่อนไขการบริการหลังการขายที่มีความเป็นธรรม จากการวิเคราะห์ด้วยวิธีการถดถอยเชิงพหุคูณแบบขั้นตอน พบว่า สมการพยากรณ์ความตั้งใจซื้อของผู้บริโภคที่ดีที่สุด คือ “ความตั้งใจซื้อของผู้บริโภค = 3.402 + (0.145)บริการหลังการขาย” โดยสามารถพยากรณ์ความตั้งใจซื้อได้ร้อยละ 02 ทั้งนี้ ที่บริการหลังการขายสามารถพยากรณ์ความตั้งใจซื้อ อาจเป็นไปได้ว่า เงื่อนไขการบริการหลังการขายที่มีความเป็นธรรม สามารถทำให้ผู้บริโภคเกิดความพึงพอใจ และนำไปสู่ความตั้งใจซื้อของผู้บริโภคได้


การบริหารจัดการภาครัฐเทศบาลเมืองหัวหินเพื่อสร้างการรับรู้แบรนด์“Hua Hin : Thai Authentic Beach” เพื่อยกระดับการท่องเที่ยว, สราวุธ วรรณทวี Jan 2019

การบริหารจัดการภาครัฐเทศบาลเมืองหัวหินเพื่อสร้างการรับรู้แบรนด์“Hua Hin : Thai Authentic Beach” เพื่อยกระดับการท่องเที่ยว, สราวุธ วรรณทวี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการภาครัฐเทศบาลเมืองหัวหินเพื่อสร้างการรับรู้แบรนด์“Hua Hin : Thai Authentic Beach” เพื่อยกระดับการท่องเที่ยว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาการพัฒนาแบรนด์ “Hua Hin : Thai Authentic Beach” การรับรู้ของบุคลากรภาครัฐเทศบาลเมืองหัวหิน ประชาชนในพื้นที่และนักท่องเที่ยว โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากรของกลุ่มตัวอย่างที่มีผลต่อการรับรู้แบรนด์ดังกล่าว และจัดทำแบบสอบถาม (ออนไลน์) สำรวจความคิดเห็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 366 คน และวิเคราะห์ด้วยสถิติประยุกต์ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษาที่สำคัญ คือ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่รู้จักแบรนด์ “Hua Hin : Thai Authentic Beach” และมีความเห็นว่าควรมีการพัฒนาแบรนด์ดังกล่าวให้เป็นที่รู้จักอย่างเป็นรูปธรรม โดยมุ่งเน้นการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการท่องเที่ยวจากการดำเนินงานของเทศบาลเมืองหัวหินเป็นหลัก ประกอบกับการให้ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่ นอกจากนี้ ผลสำรวจความเห็นได้ประเมินว่าการบริหารงานของเทศบาลเมืองหัวหินมีจุดแข็งอยู่ที่การส่งเสริมการท่องเที่ยว ส่วนที่ควรพัฒนา คือ การยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย จุดเด่นของเมืองหัวหินซึ่งเป็นที่ยอมรับ คือ ชายหาดที่สวยงามและมีเอกลักษณ์ ถือเป็นทุนการท่องเที่ยวที่สามารถนำไปพัฒนาเพื่อยกระดับการท่องเที่ยวของหัวหินไปสู่ในระดับสากล


Wage Compensation Differentials For Job Risk Between Formal And Informal Workers, Pinyada Suwannarat Jan 2019

Wage Compensation Differentials For Job Risk Between Formal And Informal Workers, Pinyada Suwannarat

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This research estimates compensating wage differentials for job risks for formal and informal workers in Thailand, the latter of whom are not covered by prevailing labor laws. Using data from the National Statistical Office’s Thai Labor Force Survey for years 2012 to 2018 merged with job fatality risk collected by the Social Security Office, the results show that the fatality risk rate has a positive, significant effect on wages. The value of statistical life for the median formal workers is 79.33 million baht compared to 41.5 million baht for the median informal worker. Also, we analyze the relationship between self-reported …


การแปรทางกลสัทศาสตร์ของช่วงเวลาเริ่มเสียงก้องของพยัญชนะกักในภาษาไทยที่พูดโดยผู้หญิงข้ามเพศ, พัทธนันท์ หาญชาญเวช Jan 2019

การแปรทางกลสัทศาสตร์ของช่วงเวลาเริ่มเสียงก้องของพยัญชนะกักในภาษาไทยที่พูดโดยผู้หญิงข้ามเพศ, พัทธนันท์ หาญชาญเวช

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ค่าช่วงเวลาเริ่มเสียงก้องของพยัญชนะกักในภาษาไทย คือ พยัญชนะกักก้อง กักไม่ก้องไม่พ่นลม และกักไม่ก้องพ่นลมของผู้หญิงข้ามเพศและเปรียบเทียบกับผู้ชายและผู้หญิง 2) ศึกษาระดับความเป็นหญิงของผู้หญิงข้ามเพศด้วยค่าดัชนีความเป็นหญิงและความสัมพันธ์ระหว่างค่าช่วงเวลาเริ่มเสียงก้องกับดัชนีความเป็นหญิง สำหรับการวิเคราะห์ค่าช่วงเวลาเริ่มเสียงก้อง เก็บข้อมูลเสียงจากรายการคำที่ประกอบด้วยคำพูดเดี่ยวที่มีพยัญชนะกักแป็นพยัญชนะต้น จากผู้หญิงข้ามเพศ 15 คน ผู้ชาย 10 คนและผู้หญิง 10 คน ส่วนการวิเคราะห์ดัชนีความเป็นหญิง เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามมาตรวัดลิเคิร์ทสเกล 5 ระดับซึ่งประกอบด้วยคำถามที่สะท้อนอัตลักษณ์ทางเพศและเพศวิถีจากผู้หญิงข้ามเพศ ผลการศึกษาทางกลสัทศาสตร์พบว่า ค่าช่วงเวลาเริ่มเสียงก้องโดยรวมของผู้หญิงข้ามเพศมีค่าระยะเวลายาวกว่าผู้ชายและผู้หญิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ลักษณะเด่นชัดที่สุดของการผลิตเสียงพยัญชนะกักของผู้หญิงข้ามเพศพบในพยัญชนะกักไม่ก้องไม่พ่นลม ซึ่งมีรูปแบบที่แตกต่างจากผู้ชายและผู้หญิง และมีช่วงพ่นลมที่ยาวกว่าผู้ชายและผู้หญิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 อีกด้วย ผลการศึกษาเกี่ยวกับระดับความเป็นหญิงพบว่า ผู้หญิงข้ามเพศในการศึกษาครั้งนี้มีระดับความเป็นหญิงอยู่ในช่วง 2-4 จากทั้งหมด 5 ระดับ เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างค่าช่วงเวลาเริ่มเสียงก้องกับค่าดัชนีความเป็นหญิงพบว่า พยัญชนะกักก้องและกักไม่ก้องพ่นลมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับค่าดัชนีความเป็นหญิงของผู้หญิงข้ามเพศ โดยมีนัยสำคัญอยู่ที่ระดับ 0.01 ในขณะที่ค่าช่วงเวลาเริ่มเสียงก้องของพยัญชนะกักไม่ก้องไม่พ่นลมไม่พบความสัมพันธ์กับค่าดัชนีความเป็นหญิง นอกจากค่าช่วงเวลาเริ่มเสียงก้องแล้ว ยังพบว่าค่าระยะเวลาของช่วงพ่นลมของพยัญชนะกักไม่ก้องพ่นลมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับค่าดัชนีความเป็นหญิงด้วย ข้อค้นพบเหล่านี้แสดงให้เห็นเอกลักษณ์ทางเสียงของผู้หญิงข้ามเพศที่แตกต่างจากผู้ชายและผู้หญิง และการแปรภายในกลุ่มของเสียงผู้หญิงข้ามเพศซึ่งสัมพันธ์กับตัวตนทางเพศของผู้หญิงข้ามเพศ


เจตคติต่อการใช้ความรุนแรงในคู่และการกล่าวโทษเหยื่อของเจ้าหน้าที่ตำรวจ : อิทธิพลของการเหยียดเพศ บทบาททางเพศของผู้หญิง และระดับความรุนแรงของสถานการณ์, ปิยกฤตา เครือหิรัญ Jan 2019

เจตคติต่อการใช้ความรุนแรงในคู่และการกล่าวโทษเหยื่อของเจ้าหน้าที่ตำรวจ : อิทธิพลของการเหยียดเพศ บทบาททางเพศของผู้หญิง และระดับความรุนแรงของสถานการณ์, ปิยกฤตา เครือหิรัญ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบอิทธิพลของการเหยียดเพศ บทบาททางเพศของผู้หญิง และระดับความรุนแรงของสถานการณ์ต่อเจตคติต่อการใช้ความรุนแรงในคู่และการกล่าวโทษเหยื่อของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ในการศึกษาที่ 1 ใช้มาตรวัดการเหยียดเพศแบบแยกขั้วเพื่อแบ่งเจ้าหน้าที่ตำรวจ จำนวน 139 คน ออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเหยียดเพศแบบเป็นปฏิปักษ์ กลุ่มเหยียดเพศแบบให้คุณ กลุ่มเหยียดเพศแบบคลุมเครือ และกลุ่มไม่เหยียดเพศ จากนั้นทำการสุ่มเข้าเงื่อนไขเพื่อรับชมวิดีโอจำลองสถานการณ์การแจ้งความของผู้หญิงที่ถูกคนรักทำร้าย แบ่งเป็น 2 เงื่อนไข คือ เงื่อนไขผู้หญิงที่มีบทบาททางเพศเป็นไปตามความคาดหวังของสังคมและเงื่อนไขผู้หญิงที่มีบทบาททางเพศไม่เป็นไปตามความคาดหวังของสังคม ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนตัวแปรพหุนามแบบสองทางไม่พบอิทธิพลปฏิสัมพันธ์ของการเหยียดเพศและบทบาททางเพศของผู้หญิงต่อเจตคติต่อการใช้ความรุนแรงในคู่และการกล่าวโทษเหยื่อ แต่พบอิทธิพลหลักของการเหยียดเพศและบทบาททางเพศของผู้หญิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยกลุ่มเหยียดเพศแบบเป็นปฏิปักษ์และแบบคลุมเครือมีเจตคติทางบวกต่อการใช้ความรุนแรงในคู่และการกล่าวโทษเหยื่อสูงกว่ากลุ่มเหยียดเพศแบบให้คุณและกลุ่มไม่เหยียดเพศ และในเงื่อนไขบทบาททางเพศแบบไม่เป็นไปตามความคาดหวังของสังคมมีคะแนนเจตคติทางบวกต่อการใช้ความรุนแรงในคู่และการกล่าวโทษเหยื่อสูงกว่าในเงื่อนไขบทบาททางเพศแบบเป็นไปตามความคาดหวังของสังคม สำหรับการศึกษาที่ 2 ดำเนินการทดสอบอิทธิพลปฏิสัมพันธ์ระหว่างการเหยียดเพศและระดับความรุนแรงของสถานการณ์ในนักเรียนนายร้อยตำรวจ จำนวน 186 คน สุ่มเข้าเงื่อนไขเพื่ออ่านเรื่องสั้นจำลองสถานการณ์ผู้หญิงที่ถูกคนรักทำร้ายพร้อมรูปภาพแสดงการบาดเจ็บตามความรุนแรงของสถานการณ์ แบ่งออกเป็น 2 เงื่อนไข คือ เงื่อนไขระดับความรุนแรงของสถานการณ์ต่ำและเงื่อนไขระดับความรุนแรงของสถานการณ์สูง ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุนามแบบสองทางไม่พบอิทธิพลปฏิสัมพันธ์ของการเหยียดเพศและระดับความรุนแรงของสถานการณ์ อีกทั้งยังไม่พบอิทธิพลหลักของระดับความรุนแรงของสถานการณ์ แต่พบอิทธิพลหลักของการเหยียดเพศต่อเจตคติต่อการใช้ความรุนแรงในคู่และการกล่าวโทษเหยื่ออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ


Heuristics Used In Credibility Judgment Of Health Information On Facebook, Yaninee Petcharanan Jan 2019

Heuristics Used In Credibility Judgment Of Health Information On Facebook, Yaninee Petcharanan

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Facebook users worldwide had been facing challenges of information credibility. This study aimed to address this issue among Thai Facebook users by focusing on health information in particular, through a lens of heuristic approach. Data were collected from 50 informants by in-depth interviews and 480 responses from online surveys. All participants were at least 18 years old with a minimum of one year experience in using Facebook. The results revealed three different processes and five heuristics, namely, reputation heuristic, authority heuristic, expectancy violation heuristic, persuasive intense heuristic, and bandwagon heuristics that participants adopted when making a credibility judgment of health …


การขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจของจีนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ผ่านกรอบความร่วมมือล้านช้าง - แม่โขง (Lmc), ปภาพรรณ หารบุรุษ Jan 2019

การขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจของจีนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ผ่านกรอบความร่วมมือล้านช้าง - แม่โขง (Lmc), ปภาพรรณ หารบุรุษ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งศึกษานโยบายต่างประเทศของจีนที่มีต่ออนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง โดยเฉพาะภายใต้การดำเนินงานของกรอบความร่วมมือล้านช้าง - แม่โขง (Lancang - Mekong Cooperation: LMC) ระหว่างปี ค.ศ. 2016 ถึง 2020 เพื่อวิเคราะห์แรงจูงใจที่ทำให้จีนต้องการจัดตั้งกรอบความร่วมมือดังกล่าว โดยผู้วิจัยใช้กรอบแนวคิดการเปลี่ยนผ่านของอำนาจ (Power transition theory) ของ A.F.K. Organski และ Jacek Kugler เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ การศึกษาครั้งนี้พบว่า แรงจูงใจสำคัญที่ทำให้จีนจัดตั้งกรอบความร่วมมือล้านช้าง – แม่โขง มี 3 ประการ ได้แก่ (1) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหารจัดการผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงได้อย่างเต็มที่ (2) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการช่วงชิงบทบาทนำในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงจากมหาอำนาจนอกภูมิภาค และ (3) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมอำนาจทางเศรษฐกิจของตนให้แข็งแกร่งขึ้น โดยในท้ายที่สุด กรอบความร่วมมือนี้จะช่วยสนับสนุนให้จีนสามารถก้าวขึ้นมาเป็นมหาอำนาจ (Dominant power) ที่ได้รับการยอมรับจากประชาคมโลกได้อย่างเต็มภาคภูมิ


ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทํางานกับแรงจูงใจในการทํางานของข้าราชการตํารวจสังกัดกองทะเบียนพล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, ปาริชาด ผิวผ่อง Jan 2019

ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทํางานกับแรงจูงใจในการทํางานของข้าราชการตํารวจสังกัดกองทะเบียนพล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, ปาริชาด ผิวผ่อง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทํางานกับแรงจูงใจในการทํางานของข้าราชการตํารวจสังกัดกองทะเบียนพล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และนำผลการศึกษามาใช้เป็นแนวทางและข้อเสนอแนะในการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตํารวจ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง ข้าราชการตํารวจสังกัดกองทะเบียนพล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จํานวน 137 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของตัวแปรด้วย Independent Samples t-test และ One-Way ANOVA/ F-test ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่าระดับคุณภาพชีวิตการทํางานของข้าราชการตํารวจสังกัดกองทะเบียนพล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (Mean = 3.41, S.D.= 0.23) แรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตํารวจสังกัดกองทะเบียนพลสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (Mean = 3.26, S.D.= 0.15) ส่วนการเปรียบเทียบข้อมูลส่วนบุคคลของข้าราชการตำรวจสังกัดกองทะเบียนพล สำนักงานตำรวจแห่งชาติกับแรงจูงใจในการทำงานพบว่า เพศ อายุ อายุราชการ ระดับการศึกษา และชั้นยศ ที่แตกต่างกัน มีระดับแรงจูงใจในการทำงานไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนหน่วยงานที่สังกัดต่างกัน มีระดับแรงจูงใจในการทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ ทพ. มีระดับแรงจูงใจในการทำงานน้อยกว่าฝ่ายความชอบ ทพ. และน้อยกว่าฝ่ายประเมิน ทพ. คุณภาพชีวิตการทํางานมีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการทํางานของข้าราชการตํารวจสังกัดกองทะเบียนพล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.421) และพบว่าคุณภาพชีวิตการทำงานด้านความสมดุลระหว่างการทำงานและชีวิตส่วนตัว ด้านความเกี่ยวข้องอันเป็นประโยชน์ต่อสังคม และด้านความมีระเบียบกฎเกณฑ์และความเป็นธรรมในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลส่งผลต่อระดับแรงจูงใจในการทำงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05


การประเมินผลโครงการฝึกอบรม : กรณีศึกษา หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่ กรมศุลกากร, ปทิดา พิพัฒน์ Jan 2019

การประเมินผลโครงการฝึกอบรม : กรณีศึกษา หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่ กรมศุลกากร, ปทิดา พิพัฒน์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลโครงการฝึกอบรม : กรณีศึกษา หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่ กรมศุลกากร ตามแบบจำลองซิปป์ (CIPP Model) ในด้านสภาวะแวดล้อม ด้านปัจจัยนำเข้า และด้านกระบวนการ ที่มีอิทธิพลต่อด้านผลผลิตของโครงการฝึกอบรม โดยกำหนดรูปแบบการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยดำเนินการเก็บข้อมูลเพื่อสอบถามความคิดเห็นของผู้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กรมศุลกากร จำนวน 245 คน ตอบแบบสอบถามกลับมาจำนวน 235 คน คิดเป็นร้อยละ 95.92 ซึ่งผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่า t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีระดับผลผลิตของโครงการฝึกอบรมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในขณะที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่มีประสบการณ์ทำงานที่ผ่านมาแตกต่างกัน ระดับผลผลิตของโครงการฝึกอบรมไม่แตกต่างกัน และการทดสอบความสัมพันธ์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อด้านผลผลิตของโครงการ พบว่า ปัจจัยด้านกระบวนการ (Beta = 0.579) ปัจจัยด้านปัจจัยนำเข้า (Beta = 0.200) และปัจจัยด้านสภาวะแวดล้อม (Beta = 0.188) มีอิทธิพลในทิศทางบวกต่อผลผลิตของโครงการฝึกอบรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05


An Evaluation Of An Online High School Summer Credit Recovery Program To Maintain Virginia On-Time Graduation, Melissa Luanne Bentley Jan 2019

An Evaluation Of An Online High School Summer Credit Recovery Program To Maintain Virginia On-Time Graduation, Melissa Luanne Bentley

Dissertations, Theses, and Masters Projects

In an attempt to maintain on-time graduation rates and reduce dropout rates, school districts, such as the one in this study, implement credit recovery programs. In an effort to improve student graduation rates and address graduation disparities, the Virginia school district in this study implements a summer credit recovery program that utilizes accelerated online learning as opposed to traditional direct instruction. This study sought to evaluate the effectiveness of the summer program as it relates to the success of student credit recovery and verified credit achievement to determine if there is a correlation to program participation and remaining on-track for …